วันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2558

อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ปัญหาศาสนพิธี นักธรรมชั นโท


ปัญหาศาสนพิธี นักธรรมชั นโท
หมวดที ๑ – ๒
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
****************************************
๑. ๑.๑ วันธรรมะสวนะคือวันอะไร สืบมาตั งแต่ครั งไหน ?๒๕๔๒
๑.๒ การจัดให้มีพระธรรมเทศนานั น เพราะมีความเช'ืออย่างไร ?๒๕๔๒
๒. ๒.๑ ศาสนพิธีเล่ม ๒ แสดงอุโบสถกรรมไว้กี'ประเภท อะไรบ้าง ?๒๕๔๓
๒.๒ แบบทำวัตรเช้าเย็น ท'ีใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี มีมาตั งแต่ครั งไหน ?๒๕๔๒
๓. ๓.๑ สามีจิกรรมมีกี'แบบ อะไรบ้าง ?๒๕๔๒
๓.๒ พิธีทำสังฆอุโบสถมีความหมายและกำหนดกาลไว้อย่างไร ?๒๕๔๒
๔. ๔.๑ พิธีเข้าพรรษา มีความหมายและกำหนดกาลไว้อย่างไร? ๒๕๔๐
๔.๒ พิธีออกพรรษา มีความหมายและกำหนดกาลไว้อย่างไร ?๒๕๔๐
๕. ๕.๑ การทำวัตรหมายถึงอะไร ?๒๕๓๙
๕.๒ ในการทำวัตรนั นมีกิจท'ีต้องทำอย่างไรบ้าง ?๒๕๓๙
๖. ๖.๑ กุศลพิธีคืออะไร มีพิธีอะไรบ้าง จงบอกมาสัก ๓ พิธี ?๒๕๒๘
๖.๒ สัตตาหะ หมายถึงอะไร ?๒๕๓๕
๗. ๗.๑ พิธีสวดพระอภิธรรมมีกี'อย่าง อะไรบ้าง ?๒๕๔๔
๗.๒ การสวดมาติกา คือ การสวดเรื'องอะไร ?๒๕๔๔
๘. ๘.๑ วันเทโวโรหนะ คือวันอะไร มีช'ือเรียกอีกอย่างหนึ'งว่าวันอะไร ?๒๕๔๔
๘.๒ การเจริญพระพุทธมนต์ กับการสวดพระพุทธมนต์ต่างกันอย่างไร จงอธิบาย ?๒๕๔๒
๙. ๙.๑ การทำบุญอัฐิ นิยมทำกันในโอกาสใดบ้าง ?๒๕๔๑
๙.๒ การสวดอภิธรรมหน้าไฟต่างจาการสวดมาติกาอย่างไร ?๒๕๔๐
๑๐. ๑๐.๑ เทศน์แจง หมายถึง อะไร ?๒๕๓๘
๑๐.๒ เทศน์มหาชาติ หมายถึงอะไร ?๒๕๓๗
เฉลยศาสนพิธี นักธรรมชั นโท
หมวดที ๑ – ๒
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
****************************************
๑. ๑.๑ คือวันกำหนดประชุมฟังธรรมที'เรียกเป็นสามัญว่า วันพระ พุทธบริษัทปฏิบัติสืบเนื'อง
มาตั งแต่ครั งพุทธกาล
๑.๒ เพราะถือกันว่า พระพุทธศาสนาจะตั งอยู่ได้ยัง' ยืน ก็ด้วยมีการประกาศ เผยแผ่พุทธ
ธรรมคำสั'งสอนของพระพุทธเจ้า
๒. ๒.๑ ศาสนพิธีเล่ม ๒ แสดงอุโบสถกรรมไว้ ๓ ประเภท คือ ๑.สังฆอุโบสถ
๒.ปาริสุทธิอุโบสถ ๓.อธิษฐานอุโบสถ
๒.๒ แบบทำวัตรเข้าเย็นมีมาแต่สมัยรัชกาลที' ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯทรงพระราช
นิพนธ์ขึ นใช้ เม'ือครั งยังทรงผนวช
๓. ๓.๑ สามีจิกรรม มี ๓ แบบคือแบบขอขมาโทษ และแบบถวายสักการะ
๓.๒ พิธีทำสังฆอุโบสถหมายถึง พิธีที'พระสงฆ์ประชุมพร้อมเพรียงกันในสีมาประกอบพิธีทำ
อุโสถสวดพระปาฏิโมกข์ กำหนดในวันอุโบสถทุกกึ'งเดือน
๔. ๔.๑ เข้าพรรษา หมายถึงพิธีที'พระสงฆ์ประชุมพร้อมกันประกอบพิธีทำปวารณาตามวินัย
นิยมกำหนดด้วยแรม ๑ คํ'าเดือน ๘
๔.๒ ออกพรรษา หมายถึง พิธีพระสงฆ์ประพร้อมกันในสีมาประกอบพิธีทำปวารณา ตาม
วินัยนิยมกำหนดวันขึ น ๕ คํ'า เดือน ๑๑ซึ'งปาวารณาแล้วต้องรออยู่รับอรุณในวัดนั น
อีก ๑ ราตรี
๕. ๕.๑ การทำวัตร หมายถึง การทำกิจวัตรของพระภิกษุสามเณร และอุบาสกอุบาสิกาเป็นการ
กระทำกิจท'ีเป็นประจำจนเป็นวัตรปฏิบัติ เรียกสั นๆ ว่าทำวัตร
๕.๒ กินที'ต้องทำในการทำวัตร คือสวดบูชาพระรัตนตรัย สวดพิจารณาปัจจัยที'บริโภคทุกวัน
ตามหน้าที'สวดเจริญกัมมัฏฐานตามสมควร และสวดอนุโมทนาทานของทายก กับสวด
แผ่กุศล
๖. ๖.๑ กุศลพิธีคือ พิธีบำเพ็ญกุศล คือ ๑.พิธีเข้าพรรษา
๒.พิธีทำสังฆอุโบสถ
๓.พิธีออกพรรษา
๖.๒ สัตตาหะ หมายถึง เมื'อเข้าพรรษาแล้วมีกิจจำเป็นที'จะไป ก็ทรงอนุญาตให้ไปด้วย
สัตตาหะเจ็ดวันกลับมาพรรษาไม่ขาด
๗. ๗.๑ สวดอภิธรรมมี ๒ อย่างคือ
๑.สวดประจำยามหน้าศพ ๒.สวดหน้าไฟในขณะฌาปนกิจฯ
๗.๒ คือ การสวดบทมาติกาของพระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์ หรือ ที'เรียกว่า
“สัตตัปปกรณาภิธรรม” ซึ'งมีการบังสุกุลเป็นท'ีสุด เป็นประเพณีนิยมจัดให้พระสงฆ์
สวดในงานทำบุญหน้าศพอย่างหนึ'ง เรียกโดยโวหารทางราชการในงานหลวงว่า
“สดับปกรณ์” แต่ราษกรสามัญทัว' ไป เรียกว่า “สวดมาติกา”
๘. ๘.๑ วันเทโวโรหนะ คือ วันท'ีพระพุทธองค์เสด็จลงจากเทวโลก เรียก อีกอย่างหนึ'งว่าวัน
พระเจ้าเปิดโลก
๘.๒ การเจริญพระพุทธมนต์หมายถึงการที'สงฆ์สาธยายในงานมงคลหรืองานที'ทำเพื'อเป็น
สวัสดิมงคลการสวดพระพุทธมนต์ หมายถึงการที'พระสงฆ์สาธยาย ในงานอวมงคล
หรือปรารภเหตุอันเป็นอวมงคล
๙. ๙.๑ การทำบุญอัฐินั น นิยมทำอยู่ ๓ ลักษณะ คือ
๑.ทำบุญฉลองธาตุ ทำต่อจากวันฌาปนกิจศพแล้ว
๒.ทำบุญ ๗ วัน หลังจากฌาปนกิจศพแล้ว
๓.ทำบุญอุทิศให้ผู้มรณะในรอบปี
๙.๒ การสวดพระอภิธรรมหน้าไฟ นิมนต์พระ ๔ รูปสวด และนิยมสวดในขณะทำ
ฌาปนกิจศพ การจัดสถานที'ก็อย่างเดียวกับการจัดสวดหน้าศพ ต่างแต่ไปจัดใน
บริเวณฌาปนสถานท'ีส่วนหนึ'งเท่านั น
ส่วนการสวดมาติกา จะใช้พระสวดกี'รูปก็ได้ ใช้สวดที'ไหนก็ได้อันเป็นสถานที'จัดงาน
ไม่ใช่สวดในขณะฌาปนกิจศพหน้าไฟ
๑๐. ๑๐.๑ เทศน์แจง หมายถึง การแสดงธรรมแจกแจงวัตถุและหัวข้อในพระไตรปิฏกออกมาให้ที'
ประชุมรับทราบฯ
๑๐.๒ เทศน์มหาชาติ คือ เทศน์เวสสันชาดก เป็นนพิธีบุญที'นิยมจัดให้มีกันมาแต่โบราณกาล

ปัญหาศาสนพิธี นักธรรมชั นโท
หมวดที ๓ – ๔
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*********************************
๑. ๑.๑ ผ้าป่า แลผ้าอัจเจกจีวร ได้แก่ผ้าเช่นไร ?๒๕๔๔
๑.๒ การทอกผ้าป่ากำหนดกาลเวลาทอดไว้หรือไม่ ? ๒๕๔๔
๒. ๒.๑ ผ้าสัสสิกสาฎก คือผ้าเช่นไร ?๒๕๔๓
๒.๒ ผ้าจำนำพรรษาคือผ้าเช่นไร? ๒๕๔๓
๓. ๓.๑ ในพุทธกาล ท่านแบ่งสังฆทานไว้กี-ประเภท จงบอกทานประเภทอาหารมาให้
ครบ ?๒๕๓๖
๓.๒ สลากภัต หมายถึงอะไร ?๒๕๓๘
๔. ๔.๑ คำควายสังฆทาน มีคำแตกต่างกัน ๒ คำ คือ สงฆสฺส นิยาเทม กับสงฺฆสฺส
โอโณชยาม สอบคำนี6ใช้ต่างกันอย่างไร ?๒๕๒๘
๔.๒ ตักบาตรน6ำผึ6ง ตักบาตรข้าวสาร จัดเข้าในหมวดไหน ในศาสนพิธี ?๒๕๒๗
๕. ๕.๑ ภิกษุผู้ชักผ้าป่าควรทำอย่างไร ?๒๕๓๗
๕.๒ ในครั6งพุทธกาล สังฆทานมี ๗ ประเภท อะไรบ้าง ?๒๕๓๐
๖. ๖.๑ ปกิณณกะพิธีที-ควรศึกษามีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๕
๖.๒ การบังสุกุลเป็นหมายถึงอะไร ?๒๕๔๑
๗. ๗.๑ สายสิญจน์แปลว่าอะไร ?๒๕๔๕
๗.๒ สายสิญจน์งานมงคลใช้กี-เส้น ?๒๕๔๕
เฉลยศาสนพิธี นักธรรมชั นโท
หมวดที ๓ – ๔
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*********************************
๑. ๑.๑ ผ้าป่ า หมายถึงผ้าเปื6 อนฝุ่นท-ีไม่มีเจ้าของหวงแหน ทิ6งอยู่ตามป่ าดงบ้างตาม
ป่ าช้าบ้าง ตามถนนหนทางและห้อยย้อยอยู่ตามกิ-งไม้บ้าง ผ้าอัจเจกจีวรหมายถึง
ผ้าจำนำพรรษาที-ทายกรีบด่วนถวายก่อนกำหนดกาล คือถวายก่อนออกพรรษา
๑.๒ ไม่มีกำหนดเวลา มีศรัทธาเมื-อไรก็ถวายได้
๒. ๒.๑ ผ้าวัสสิกสาฎก คือผ้าสำหรับภิกษุใช้นุ่งเวลาอาบน6ำฝนหรืออาบน6ำทัว- ไปเรียกกัน
ว่าผ้าอาบน6ำฝนบ้าง ผ้าอาบบ้าง ผ้านี6เกิดขึ6นเฉพาะฤดูกาลท-ีทรงอนุญาตเป็น
บริขารพิเศษชัว- คราว อธิษฐานไว้ใช้ได้ตลอด ๔ เดือน ฤดูฝนพ้น จากเขตนั6น
เป็นธรรมเนียมให้วิกัป
๒.๒ ผ้าจำนำพรรษา คือผ้าที-ทายกถวายแก่ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ ๓ เดือนเว้นผ้ากฐิน
๓. ๓.๑ สังฆทานมี ๗ ประเภททานประเภทอาหารมี ๔ คือ
ถวายสังฆทาน๑ ถวายสลากภัต๑ ตักบาตรข้าวสาร๑ ตักบาตรน6ำผึ6ง๑
๓.๒ สลากภัต หมายถึงภัตรที-ทายกทายิกถวายตามสลาก นับเข้าในสังฆทาน
๔. ๔.๑ คำว่า สงฆสฺส นิยฺยาเทม ใช้กล่าวคำถวายสิ-งของเล็กน้อย ซึ-งยกถวายด้วยมือได้
๔.๒ ตักบาตรน6ำผึ6ง ตักบาตรข้าวสาร จัดเข้าในหมวดทานพิธี
๕. ๕.๑ ภิกษุผู้ชักผ้าป่ า ไม่ว่าจะเป็นผ้าป่ าแบบไหน พึงยืนสงบตรงหน้า เอื6อมมือขวาจับ
ผ้า ให้จับหงายมือ อย่างจับควํ-ามือ แล้วกล่าววาจาหรือบริกรรมในใจว่า อิมํ ปํ สุ
กูลจีวรํ อสสามิกํ มยหํ ปาปุณาติ ผ้าบังสุกุลผืนนี6 เป็นผ้าไม่มีเจ้าของหวงแหน
ย่อมถึงแก่ข้าพเจ้า ดึงนี6แล้วชักผ้านั6นมา เป็นอันเสร็จพิธี
๕.๒ สังฆทาน ๗ ประเภท คือ
๑.ถวายแก่หมู่ภิกษุและภิกษุณี มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข
๒.ถวายแก่หมู่ภิกษุ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข
๓.ถวายแก่หมู่ภิกษุณี มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข
๔.ถวายแก่หมู่ภิกษุและภิกษุณี ไม่มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข
๕.ถวายแก่หมู่ภิกษุ ไม่มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข
๖.ถวายแก่หมู่ภิกษุณี ไม่มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข
๗.ร้องขอต่อสงฆ์ให้ส่งใครๆไปรับ แล้วถวายแก่ผู้นั6น
๖. ๖.๑ ปกิณณกะพิธีที-ควรศึกษามี ๕ ประการคือ
๑.วิธีสวดมนต์ไหว้พระของนักเรียน
๒.วิธีไหว้ครูสำหรับนักเรียน
๓.วิธีจับด้ายสายสิญจน์
๔.วิธีบังสุกุลเป็น
๕.วิธีบอกศักราช
๖.๒ การบังสุกุลเป็น หมายถึงบุญกิริยาที-เจ้าภาพประสงค์จะบริจาควัตถุที-เนื-องด้วยกาย
ของตนโดยเฉพาะผู้อุทิศสงฆ์ให้เป็นบังสุกุล ปกตินิยมทำเมื-อป่วยหนักเป็นการ
กำหนดมรณานุสสติอีกวิธีหนึ-ง
๗. ๗.๑ สายสิญจน์ แปลว่า สายรดน6ำในปัจจุบันได้แก่สายท-ีทำด้วยด้ายดิบ
๗.๒ สายสิญจน์ ในงานมงคลใช้ ๙ เส้น







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น