วันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2558

อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นโท


ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นโท
กัณฑ์ที ๑๑–๑๓
อบรมก่อนธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
***********************************
๑. ๑.๑ พระวินัยแบ่งออกเป็นกี อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๑.๒ ถ้าไม่ปฏิบัติตามจะต้องอาบัติอะไร ? ๒๕๔๐
๒. ๒.๑ ในวินัยมุข ท่านระบุวินัยกรรมไว้กี อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๒.๒ การทำวินัยกรรมนั'นมีกำจัดบุคคล หรือสถานท ีบ้างหรือไม่ อย่างไร ? ๒๕๔๒
๓. ๓.๑ กายบริหารตามวินัยมุขเล่ม ๒ มีกี ข้อ ? ๒๕๔๑
๓.๒ จงเขียนกายบริหาร ข้อที ๑ - ๕ มาดู ? ๒๕๔๑
๔. ๔.๑ บาตรที ทรงอนุญาตมีกี ชนิด อะไรบ้าง บาตรแสตนเลสจัดเข้าในชนิดไหน ? ๒๕๔๓
๔.๒ บาตรที ทรงห้ามมีกี ชนิด อะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๕. ๕.๑ ผ้าจีวรตามพระพุทธานุญาตให้ย้อมด้วยวัตถุกี อย่าง ? ๒๕๔๐
๕.๒ สีจีวรท ีรับรองกันถูกต้องตามพระพุทธานุญาตนั'นคือสีอะไรบ้าง และสีอะไรท ีตรัส
ห้าม ? ๒๕๔๐
๖. ๖.๑ สมัยใดบ้างที พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตไม่ต้องห่มผ้าสังฆาฏิ ? ๒๕๓๘
๖.๒ บริขารที เป็นเครื องบริโภคมีกี อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๓๘
๗. ๗.๑ อาจารย์ทางพระวินัยตามนัยอรรถกถามีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๗.๒ อาจารย์เหล่านั'นทำหน้าท ีต่างกันอย่างไร ? ๒๕๔๔
๘. ๘.๑ นิสัย คือ อะไร เหตุให้นิสัยระงับมีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๘.๒ ภิกษุเช่นไรควรได้นิสัยมุตตกะ ? ๒๕๔๓
๙. ๙.๑ พระศาสดาทรงเห็นประโยชน์อย่างไร จึงตรัสสั งให้พระอุปัชฌาย์และสัทธิวิหาริกตั'งจิต
สนิทสนมกันฉันบิดาและบุตร จงพรรณามา ? ๒๕๓๘
๙.๒ พระอุปัชฌาย์จะพึงประณาม คือ ขับไล่สัทธิวิหาริกผู้ประพฤติมิชอบ ในบาลีแสดง
องค์เป็นเครื องกำหนด ๕ อย่าง มีอะไรบ้าง ? ๒๕๓๙
๑๐. ๑๐.๑ ผู้ถือนิสัย คือ ใคร ? ๒๕๓๗
๑๐.๒ คำขอนิสัยต่ออุปัชฌาย์และอาจารย์เขียนว่าอย่างไร ? ๒๕๓๗
***************************************
เฉลยวินัยมุข นักธรรมชั นโท
กัณฑ์ที ๑๑–๑๓
อบรมก่อนธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
**************************
๑. ๑.๑ พระวินัยแบ่งออกเป็น ๒ อย่าง คือ
๑. อาทิพรหมจริยกาสิกขาบท ๒. อภิสมาจาร
๑.๒ ถ้าไม่ปฏิบัติตาม ท่านปรับโทษคือต้องอาบัติ ๗ อย่าง คือ ปาราชิก สังฆาทิเสส ถุลลัจจัย
ปาจิตตีย์ ปฏิเทสนียะ ทุกกฏ ทุพภาษิต ที เป็นอภิสมาจาร ถ้าไม่ปฏิบัติตาม ต้อง
อาบัติถุลลัจจัย กับทุกกฏ
๒. ๒.๑ ในวินัยมุขท่านระบุวินัยกรรมไว้ ๓ อย่าง คือ
๑. การแสดงอาบัติ ๒. การอธิษฐาน ๓. การวิกัปป์
๒.๒ การทำวินัยกรรมนั'น มีจำกัดบุคคลและสถานท ีไว้ ดังนี'
๑. แสดงอาบัติ ต้องแสดงแก่ผู้ที เป็นภิกษุด้วยกัน
๒. อธิษฐาน ต้องทำเอง
๓. วิกัปป์ ให้วิกัปป์ แก่สหธรรมิกทั'ง ๕ คือ ภิกษุ ภิกษุณี สิกขมานา สามเณร
สามเณรี รูปใดรูปหนึ ง ห้ามทำในท ีมืด แต่ในสีมานอกสีมาใช้ได้ทั'งนั'น
๓. ๓.๑ กายบริหารตามวินัยมุขเล่ม ๒ มี ๑๔ ข้อ
๓.๒ กายบริหารข้อท ี ๑-๕ มีดังนี'
๑. อย่าพึงไว้ผมยาว จะไว้ได้เพียง ๒ เดือน หรือ ๒ นิ'ว
๒. อย่าพึงไว้หนวดเครา
๓. อย่าพึงไว้เล็บยาว
๔. อย่าพึงไว้ขนจมูกยาว พึงถอนเสียด้วยแหนบ
๕. อย่าพึงนำออกเสียซึ งขนในท ีแคบ คือในร่มผ้า และท ีรักแร้เว้นแต่อาพาธ
๔. ๔.๑ บาตรที ทรงอนุญาตมี ๒ ชนิด คือ
๑. บาตรดินเผา ๒. บาตรเหล็ก บาตรแสตนเลสจัดเข้าในบาตรเหล็ก
๔.๒ บาตรที ทรงห้ามมี ๑๑ ชนิด คือ ๑. บาตรทอง ๒. บาตรเงิน ๓. บาตรแก้วมณี
๔. บาตรแก้วไพฑูรย์ ๕. บาตรแก้วผลึก ๖. บาตรแก้วหุง ๗. บาตรทองแดง
๘. บาตรทองเหลือง ๙. บาตรดีบุก ๑๐. บาตรสังกะสี ๑๑. บาตรไม้
๕. ๕.๑ ผ้าจีวรย้อมด้วยของ ๖ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ ง คือ
๑. รากหรือเหง้า ๒. ต้นไม้ ๓. เปลือกไม้
๔. ใบไม้ ๕. ดอกไม้ ๖. ผลไม้
๕.๒ สีย้อมจีวรที ทรงอนุญาต สีเหลืองหรือแดงเข้ม หรือสีเหลืองหม่น พึงเห็นเช่นสีที ย้อมด้วย
แก่นขนุน อันเรียกว่า กรัก สีที ตรัสห้ามไว้ คือ สีคราม สีเหลือง สีแดง สีบานเย็น สีแสด สีชมพู สีดำ
๖. ๖.๑ สมัยที ไม่ต้องห่มผ้าสังฆาฏิมี ๕ คือ
๑. เจ็บไข้ ๒. สังเกตว่าฝนจะตก ๓. ไปสู่ยังแม่น'ำ
๔. วิหารหรือกุฎีคุ้มได้ด้วยดาน ๕. ได้กรานกฐิน
๖.๒ บริขารที เป็นเครื องบริโภค มี ๕ อย่างคือ
๑. กล่องเข้ม ๒. เคร ืองกรองน'ำ
๓. มีดโกนพร้อมทั'งฝักหินสำหรับลับกับเคร ืองสะบัด
๔. ร่ม ๕. รองเท้า
๗. ๗.๑ อาจารย์ทางพระวินัยตามนัยอรรถกถามี ๔ คือ
๑. ปัพพชาจารย์ ๒. อุปสัมปทาจารย์
๓. นิสสยาจารย์ ๔. อุทเทสาจารย์
๗.๒ อาจารย์เหล่านั'น ทำหน้าท ีต่างกันคือ
๑. ปัพพชาจารย์ ทำหน้าที ให้สรณคมน์เมื อบรรพชา
๒. อุปสัมปทาจารย์ ทำหน้าที สวดกกรรมวาจาเมื ออุปสมบท
๓. นิสสยาจารย์ ทำหน้าที ให้นิสัย
๔. อุทเทสาจารย์ ทำหน้าที สอนธรรม
๘. ๘.๑ นิสัย คือ กิริยาท ีพึ งพิงของสัทธิวิหาริกและอันเตวาสิก ต่อพระอุปัชฌาย์และ
พระอาจารย์
เหตุให้นิสัยระงับจากพระอุปัชฌาย์มี ๕ คือ
๑. หลีกไปเสีย ๒. สึกเสีย
๓. ตายเสีย ๔. ไปเข้ารีตเดียรถีย์
๕. สั งบังคับ
เหตุให้นิสัยระงับจากพระอาจารย์ เพิ มอีก ๑ ข้อ คือ อันเตวาสิกรวมเข้ากับ
พระอุปัชฌาย์ของเธอ
๘.๒ ภิกษุผู้ควรได้นิสัยมุตตกะ คือ
๑. เป็นผู้มีศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ สติ
๒. เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล อาจาระ ความเห็นชอบ เคยได้ยินได้ฟังมามาก มีปัญญา
๓. รู้จักอาบัติมิใช่อาบัติ อาบัติเบา อาบัติหนัก จำพระปาฏิโมกข์ได้แม่นยำ ทั'งมีพรรษาพ้น ๕
๙. ๙.๑ ทรงเห็นประโยชน์อย่างนี' คือ เม ือทั'ง ๒ ฝ่ ายต่างสนิทสนมกัน ฉันบิดาและบุตร
เช่นนั'นแล้ว จักเป็นเหตุให้มีความเคารพ เช ือฟัง ถูกกัน อยู่เป็นสุข ถึงซึ งความเจริญ
งอกงามไพบูลย์
๙.๒ ด้วยองค์เป็นเครื องกำหนด ๕ อย่างคือ
๑. หาความรักใคร่ในอุปัชฌาย์มิได้
๒. หาความเลื อมใสมิได้
๓. หาความละอายมิได้
๔. หาความเคารพมิได้
๕. หาความหวังดีมิได้
๑๐. ๑๐.๑ ผู้ถือนิสัยคือ ภิกษุผู้มีพรรษาหย่อน ๕ หรือพ้นแล้ว แต่ไม่รู้ธรรมวินัย พอจะรักษาตัวให้
รอดได้ และภิกษุผู้ถูกสงฆ์ลงโทษโดยฐานนิยสกรรม
๑๐.๒ คำขอนิสัยต่อพระอุปัชฌาย์ว่า “อุปัชฌาโย เม ภันเต โหหิ”
คำขอนิสัยต่ออาจารย์ว่า “อาจะริโย เม ภันเต โหหิ อายัสสะมะโต นิสสายะ
วัจฉามิ”
-------------------------------------


ปัญหาวิชาวินัย นักธรรมชั นโท
กัณฑ์ที ๑๔-๑๖
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************************
๑. ๑.๑ วัตรอันภิกษุควรประพฤติในคำว่า วตฺตสมฺปนฺโน นั นคืออะไร ?๒๕๔๔
๑.๒ ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาไม่ขาดย่อมได้อานิสงส์เท่าไร ?๒๕๔๔
๒. ๒.๑ วัตถุอนามาสคืออะไร มีอะไรบ้าง? ๒๕๔๓
๒.๒ ภิกษุเช่นไรชื3อว่า นวกะ มัชฌิมะ เถระ สิทธิวิหาริก อันเตวาสิก ?๒๕๔๒
๓. ๓.๑ ภิกษุผู้เป็นสัทธิวิหาริก ควรเอาใจใส่อุปัฏฐากอุปัชฌายะของตนอย่างไรบ้าง ?๒๕๔๒
๓.๒ ภิกษุผู้เป็นอุปัชฌาย์พึงปฏิบัติอย่างไรต่อสิทธิวิหาริก ?๒๕๔๒
๔. ๔.๑ ภิกษุไปสู่อาวาสอ3ืน พึงปฏิบัติต่อเจ้าของถิ3นอย่างไรบ้าง ?๒๕๔๑
๔.๒ สถานท3ีเช่นไร ไม่ทรงอนุญาตให้ภิกษุอยู่จำพรรษา ?๒๕๔๑
๕. ๕.๑ ภิกษุจะเข้าไปบิณฑบาตควรประพฤติให้ถูกธรรมเนียมอย่างไร ?๒๕๔๐
๕.๒ ธุระไปด้วยเหตุสัตตาหกรณียะ อันกล่าวไว้ในบาลี คือ.........?๒๕๓๙
๖. ๖.๑ กิริยาอย่างไร เรียกว่าแสดงความเคารพแก่กัน ?๒๕๓๙
๖.๒ ภิกษุควรงดทำความเคารพกันในเวลาใดบ้าง? ๒๕๓๙
๗. ๗.๑ ภิกษุประเภทไหนที3ควรเว้นคารวะ ?๒๕๓๗
๗.๒ ที3เช่นไร ที3ทรงอนุญาตให้จำพรรษา ?๒๕๓๗
๘. ๘.๑ ภิกษุจับต้องวัตถุอนามาสมีดโทษอย่างไร ?๒๕๔๑
๘.๒ ในบาลีท่านแสดงอันตรายสำหรับภิกษุผู้อยู่จำพรรษาไว้อย่างไร ?๒๕๓๙
๙. ๙.๑ ภิกษุผู้ไม่ควรถูกย้าย ๕ ประเภท คือใครบ้าง ?๒๕๓๗
๙.๒ การแจกเสนาสนะ มีอยู่ก3ีคราว อะไรบ้าง?
๑๐. ๑๐.๑ ภิกษุที3ควรถูกเลือกให้เป็นผู้พยาบาลต้องปรกอบด้วยองค์เท่าไร อะไรบ้าง?
๑๐.๒ คำอธิษฐานพรรษาว่าอย่างไร จงเขียนมาดู ?
เฉลยวิชาวินัย นักธรรมชั นโท
กัณฑ์ที ๑๔-๑๖
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************************
๑. ๑.๑ วัตรอันภิกษุควรประพฤติ มี ๓ คือ
๑.กิจวัตร ว่าด้วยกิจอันควรทำ
๒.จริยาวัตร ว่าด้วยมารยาทอันควรประพฤติ
๓.วิธีวัตร ว่าด้วแบบอย่าง
๑.๒ อานิสงส์จำพรรษามี ๕ ข้อคือ
๑.เที3ยวไปโดยไม่ต้องบอกลาตามสิขาบทที3 ๖ แห่งอเจลกวรรค
๒.เที3ยวจาริกไปไม่ต้องนำไตรจีวรไปครบสำรับ
๓.ฉันคณโภชน์ และปรัมปรโภชน์ได้
๔.เก็บอติเรกจีวรไว้ได้ตามปรารถนา
๕.จีวรท3ีเกิดขึ นในท3ีนั น จักเป็นของได้แก่พวกเธอ
๒. ๒.๑ วัตถุอนามาส คือวัตถุอันไม่ควรจับต้อง มีดังนี
๑.ผู้หญิง รวมทั งเคร3ืองแต่กาย ทั งรูปท3ีทำสัณฐานเช่นนั น ดิรัจฉานตัวเมีย
๒.ทอง เงิน รัตนะ ๓.ศัสตราวุธ ๔.เครื3องดักสัตว์
๕.เคร3ืองประโคมทุกอย่าง ๖.ข้าวเปลือก และผลไม้อันอยู่ในท3ี
๒.๒ ภิกษุมีพรรษาหย่อน ๕ ชื3อว่านวกะ
ภิกษุมีพรรษาพ้น ๕ แต่หย่อน ๑๐ ชื3อว่ามัชฌิมะ
ภิกษุมีพรรษาครบ ๑๐ แล้วชื3อว่า เถระ
ภิกษุผู้พึ3งอุปัชฌาย์ ช3ือว่าสัทธิวิหาริก
ภิกษุผู้พึ3งอาจารย์ ช3ือว่าอันเตวาสิก
๓. ๓.๑ สัทธิวิหาริกควรเอาใจใส่อุปัฏฐากอุปัชฌายะของตน คือ
๑.เอาใจใส่อุปัฏฐากท่านในกิจทุกอย่าง เช่น ถวายน ำบ้วนปาก น ำล้างหน้า เป็นต้น
๒.หวังความศึกษาในท่าน
๓.ขวนขวายป้องกัน หรือระงับความเสื3อมเสียอันจักมีหรือได้มีแล้ว
๔.รักษาน ำใจท่าน ไม่คบคนนอกให้เป็นเหตุแหนง
๕.เคารพในท่าน
๖.ไม่เที3ยวเตร่ตามทอำเภอใจ จะไปข้างไหนลาท่านก่อน
๗. เมื3อท่านอาพาธ เอาใจใส่พยาบาล
๓.๒ อุปัชฌาย์พึงปฏิบัติต่อสัทธิวิหาริกดังต่อไปนี
๑.เอาธุระในการศึกษาของสัทธิวิหาริก
๒.สงเคราะห์ด้วยบาตรจีวรและบริขารอย่างอื3น ถ้าของตนไม่มีก็ขวนขวายหา
๓.ขวนขวายป้องกันหรือระงับความเสื3อมเสียอันจักมีหรือได้มีแล้ว
๔.เมื3อสัทธิวิหาริกอาพาธ ทำการพยาบาล
๔. ๔.๑ ภิกษุไม่สู่อาวาสอ3ืนพึงปฏิบัติต่อเจ้าของถิ3นอย่างนี
๑.เคารพในท่านผู้เป็นเจ้าของถิ3น ๒.แสดงความเกรงใจ ๓.แสดงอาการสุภาพ
๔.แสดงอาการสนิทสนม ๕.ประพฤติให้ถูกธรรมเนียมเจ้าของถิ3นสำหรับท3ีจะอยู่ท3ีนัน3
๖.ถือเสนาะแล้วอย่าดูดาย
๔.๒ สถานท3ีไม่ทรงอนุญาตให้ภิกษุอยู่จำพรรษา คือ
๕. ๕.๑ ภิกษุจะเข้าไปบิณฑบาตควรประพฤติให้ถูกธรรมเนียมคือ
๑.นุ่งห่มให้เรียบร้อย ๒.ถือบาตรภายในจีวร ๓.สำรวมกิริยาให้เรียบร้อย
๔.กำหนดทางเข้าออกแห่งบ้าน ๕.รับบิณฑบาตด้วยอาการสำรวม
๕.๒ เหตุไปด้วยสัตตาหกรณียะ คือ
๑.สหธรรมิกหรือบิดามารดาเจ็บไข้ รู้เข้าไปเพื3อรักษาพยาบาลก็ได้
๒.สหธรรมมิกกระสันจะสึก รู้เข้าไปเพื3อระงับก็ได้
๓.มีกิจสงฆ์เกิดขึ นเป็นต้นว่า วิหารชำรุดในเวลานั น ไปเพ3ือปฏิสังขรณ์
๔.ทายกต้องการบำเพ็ญกุศล ส่งคนมานิมนต์ไปเพื3อบำรุงศรัทธาของเขา
๖. ๖.๑ การกราบไหว้ การลุกรับ กรทำอัญชลี การทำสามีจิกรรม เรียกว่าแสดงความเคารพ
๖.๒ ภิกษุควรงดทำความเคารพกันในเวลา
๑.ปรพฤติวุฏฐษนวิธี คืออยู่กรรมเพื3อออกจากอาบัติสังฆาทิเสส
๒.ในเวลาถูกสงฆ์ทำอุกเขปนียกรรม ๓.ในเวลาเปลือยกาย
๔.ในเวลาเข้าบ้านหรือเดินอยู่ตามทาง ๕.ในเวลาท3ีท่านไม่รู้
๖.ในเวลาฉันอาหาร ๗.ในเวลาถ่ายอุจจาระปัสสาวะ
๗. ๗.๑ ภิกษุมีพรรษาอ่อนกว่า ภิกษุต่างนิกายที3เรียกว่า นานาสังวาส
ภิกษุพูดไม่เป็นธรรมเหล่านั น ควรเว้นคารวะ
๗.๒ เสนาสนะมุงบัง มีบานประตูเปิดปิดได้ ทรงอนุญาตให้จำพรรษาได้
๘. ๘.๑ ถ้าจับต้องวัตถุอนามาสต้องอาบัติทุกกฏ เว้นแต่มีความกำหนัดจับผู้หญิง ต้องอาบัติ
สังฆาทิเสส
๘.๒ อันตรายสำหรับภิกษุผู้อยู่จำพรรษาคือ
๑.ถูกสัตว์ร้ายก็ดี โจรก็ดี ปิศาจก็ดี เบียดเบียน
๒.เสนาสนะถูกไฟไหม้ หรือน ำท่วม
๓.ภัยเช่นนั นเกิดขึ นแก่โคจรคาม ลำบากด้วยบิณฑบาต
๔.ขัดสนด้วยอาหารโดยปกติ
๕.มีหญิงมาเกลี ยกล่อม หรือมีญาติมารบกวนล่อด้วยทรัพย์
๖.สงฆ์ในอาวาสอื3นรวนจะแตก หรือแตกกันแล้ว ไปเพื3อจะห้ามหรือเพื3อจะสมาน
๙. ๙.๑ ภิกษุไม่ควรถูกย้าย ๕ ประเภท คือ
๑.ไม่ควรย้ายภิกษุผู้แก่กว่า เพื3อแจกเสนาสนะให้ภิกษุผู้อ่อนกว่า
๒.ไม่ควรย้ายภิกษุอาพาธ เว้นไว้แต่อาพาธอันจะติดต่อกันได้ เช่นโรคเรื อน
๓.ไม่ควรย้ายภิกษุผู้รักษาคลังสงฆ์
๔.ไม่ควรย้ายภิกษุผู้เป็นพหูสูต ผู้มีอุปการะแก่ภิกษุทั งหลายด้วยการบอกแนะนำอรรถธรรม
๕.ไม่ควรย้ายภิกษุผู้ทำการปฏิสังขรณ์เสนาสนะอันชำรุดให้คืนเป็นปกติ
๙.๒ การแจกเสนาสนะมีอยู่ ๒ คราว คือ
๑.คราวอยู่ในพรรษา
๒.คราวอยู่นอกพรรษา
๑๐. ๑๐.๑ ภิกษุที3ควรถูฏเลือกให้เป็นผู้พยาบาลต้องประกอบด้วยองค์ ๕ คือ
๑.รู้จักประกอบยา
๒.รู้จักของแสลงโรคและไม่แสลง นำแต่ของไม่แสลงไปถวาย เอาของแสลงออกเสีย
๓.เป็นผู้ไม่รังเกียจของโสโครก
๔.เป็นผู้ไม่เห็นแก่ได้
๕.เป็นผู้มีจิตเมตตา
๑๐.๒ คำอธิฐษนพรรษาว่า ดังนี
อิมสฺมึ อาวาเส อิมํ เตมาสํ วสฺสํ อุเปมิ แปลว่า ข้าพเจ้าเข้าถึงฤดูฝนในอาวาสนี ตลอด ๓ เดือนนี

ปัญหาวิชาวินัย นักธรรมชั นโท
กัณฑ์ที ๑๗-๑๙
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************************
๑. ๑.๑ ภิกษุจำพรรษา ๑ รูป ๒, ๓, ๔, ๕,รูปเมื อถึงวันปวารณาพึงปฏิบัติอย่างไร? ๒๕๔๔
๑.๒ เหตุที ทำให้เลื อนปวารณาได้มีกี อย่าง อะไรบ้าง ?๒๕๔๔
๒. ๒.๑ การทำนอกรีตนอกรายของสมณะ เรียกว่าอะไร มีกี อย่าง อะไรบ้าง ?๒๕๔๔
๒.๒ จงบอกความหมายของแต่ละอย่างด้วย ?๒๕๔๔
๓. ๓.๑ กิจอันสงฆ์จะพึงทำก่อนสวดพระปาฏิโมกข์มีกี อย่าง อะไรบ้าง ?๒๕๔๓
๓.๒ สงฆ์สวดปาฏิโมกข์อยู่ภิกษุอ ืนมาถึง หรือมาถึงเม ือสวดจบแล้วพึงปฏิบัติอย่างไร ?๒๕๔๓
๔. ๔.๑ จงให้ความหมายของคำว่า กาลิ ยาวกาลิก ยามกาลิก สัตตาหกาลิก ยาวชีวิก
๔.๒ น8ำอ้อยเป็นกาลิกอะไร ?๒๕๔๑
๕. ๕.๑ ภิกษุไม่สังวรในอุปปถกิริยา ควรให้สงฆ์ลงโทษสถานใดบ้าง ?๒๕๔๒
๕.๒ อนามัฏฐบิณบาตรคืออะไร มีอะไรบ้าง ?๒๕๔๑
๖. ๖.๑ อเนสนาคืออะไร มีอะไรบ้าง ?๒๕๔๑
๖.๒ ภิกษุประพฤติอเนสนาอย่างไร จึงต้องอาบัติปาราชิก สังฆาทิเสส ปาจิตตีย์?๒๕๔๑
๗. ๗.๑ คำว่า อันโตวุฏฐะ อันโตปักกะ และสามปักกะ เป็นชื อของอะไร ?๒๕๔๐
๗.๒ น8ำสำหรับด ืมท ีคั8นออกมาจากลูกไม้ท ีจัดเป็นยามกาลิก ท่านแสดงไว้ในบาลีมีก ีชนิด
อะไรบ้าง ?๒๕๔๐
๘. ๘.๑ การทำสังฆอุโบสถ สวดปาฏิโมกข์ในที ประชุมต้องพร้อมด้วยองค์เท่าไร
อะไรบ้าง? ๒๕๔๐
๘.๒ ท ีเรียกว่า วิญญัติ นั8นคือ ทำอย่างไร จัดเข้าในอุปปถกริยาประเภทไหน ?๒๕๔๐
๙. ๙.๑ ญัตติสังฆปวารณามีเท่าไร อะไรบ้าง ?๒๕๓๙
๙.๒ ดิรัจฉานวิชาคืออะไรบ้าง ?๒๕๓๙
๑๐. ๑๐.๑ อุโบสถเป็นชื อของอะไร ?๒๕๓๖
๑๐.๒ การกคือภิกษุผู้ทำอุโบสถมี ๓ คืออะไรบ้าง ?๒๕๓๖
เฉลยวิชาวินัย นักธรรมชั นโท
กัณฑ์ที ๑๗-๑๙
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************************
๑. ๑.๑ พึงปฏิบัติอย่างนี8 ภิกษุ ๑ รูป พึงอธิฐานเป็นการบุคคล ภิกษุ ๒,๓,๔ รูปพึงทำคณะปวารณา
ภิกษุ ๕ รูปขึ8นไปพึ งทำสังฆปวารณา
๑.๒ มี ๒ อย่างคือ
๑.ภิกษุจะเข้ามาสมทบปวารณาด้วย ด้วยหมายจะคัดค้านผู้นั8นผู้นี8 ทำให้เกิด
อธิกรณ์ขึ8น
๒.อยู่ด้วยกันเป็นผาสุก ปวารณาแล้วต่างจะจากกันจาริกไปเสีย
๒. ๒.๑ เรียกว่า อุปปุถจริยา มี ๓ อย่างคือ
อนาจาร๑ ปาปสมาจาร๑ อาสนา๑
๒.๒ ความประพฤติไม่ดีไม่งาม และเล่นมีประการต่างๆ จัดเข้าในอนาจาร
ความประพฤติเลวทราม จัดเข้าในสมาจาร
ความเลี8ยงชีพไม่สมควร จัดเข้าในอเนสนา
๓. ๓.๑ มี ๙ อย่างคือ ๑.กวาดโรงอุโบสถ ๒.ตามประทีป
๓.นำปาริสุทธิของภิกษุผู้เจ็บไข้มา ๔.ตั8งน8ำฉันน8ำใช้
๕.นำปาริสุทธิของภิกษุผู้เจ็บไข้มา
๖.นำฉันทะของเธอมาด้วย ๗.บอกฤดู
๘.นับภิกษุ ๙.สั งสอนนางภิกษุณี
๓.๒ พึงปฏิบัติอย่างนี8 คือถ้าภิกษุท ีมาใหม่มากกว่าภิกษุท ี ประชุมกันอยู่ต้องสวดตั8งต้นใหม่ถ้า
เท่ากันหรือน้อยกว่า ส่วนท ีสวดไปแล้วก็แล้วกันไป ให้ภิกษุท ีมาใหม่ฟังส่วนท ียังเหลืออยู่
ถ้ามาเม ือสวดจบแล้ว แม้มากกว่าก็ไม่ต้องสวดซ8ำอีก ให้ภิกษุใหม่บอกปาริสุทธิในสำนัก
ภิกษุผู้สวดผู้ฟังปาฏิโมกข์แล้ว
๔. ๔.๑ กาลิก คือของท ีจะพึงกลืนให้ล่วงลำคอลงไปยาวกาลิก คือของทีใช้บริโภคได้ชัว คราว
ตั8งแต่เช้าถึงเท ียงวัน ยามกาลิก คือของท ีใช้บริโภคได้ชัว คราว คือ ๑ วันกับ ๑ คืน
สัตตาหกาลิก คือของท ีใช้บริโภคได้ชัว คราว ๗ วัน ยาวชีวิก คือของท ีใช้บริโภคได้เสมอ
ไม่จำกัดกาล
๔.๒ ถ้าเป็นน8ำอ้อยสด จัดเป็นยามกาลิกถ้าเป็นนำอ้อยเค ียวจนแข้นแข็ง จัดเป็นสัตตาหกาลิก
๕. ๕.๑ ภิกษุไม่สังวรในอุปปถกิริยาควรให้สงฆ์ลงโทษ ๔ ประการ คือ
๑.ตัชชนียกรรม ตำหนิโทษ
๒.นิยสกรรม ถอดยศ คือถอดความเป็นใหญ่หรือลดตำแหน่งลง
๓.ปัพพาชนียกรรม ขับไล่ออกเสียจากวัด
๔.ปฏิสารณียกรรม ให้หวนระลึกถึงความผิด และขอขมาคฤหัสถ์ที ตนรุกรานหรือตัด
รอนอย่างใดอย่างหนึ ง ตามโทษานุโทษ เพ ือจะได้สังวรสืบไป
๕.๒ คือบิณฑบาตหรือโภชนที ได้มายังไม่หยิบฉันไปฉัน ในพระวินัยห้ามอนามัฏฐบิณฑบาต
แก่คฤหัสถ์อ ืน นอกจากบิดามารดา ส่วนมารดาบิดานั8น เป็นภาระท ีพระภิกษุจะต้องเลี8ยง
ทรงอนุญาตเพื อให้ได้
๖. ๖.๑ อเนสนา คือกิริยาท ีแสวหาเลี8ยงในท่างไม่สมควร แสดงโดยเค้ามี ๒ คือ
๑.การแสวงกาเป็นโลกวัชชะ มีโทษทางโลก
๒.การแสวงการเป็นปัณณัตติวัชชะ มีโทษทางพระบัญญัติ
๖.๒ การแสงหารายได้ด้วยโจรกรรมด้วยอวดอุตตริมนุสสธรรม เป็นวัตถุแห่ง
ปาราชิกด้วยชักสื อให้ชายหญิงเป็นผัวเมียกัน เป็นวัตถุแห่งสังฆาทิเสส ด้วยการ
ขอโภชนะอันประณีตมาฉันเองทั8งท ีไม่อาพาธเป็นวัตถุแห่งปาจิตตีย์
๗. ๗.๑ อันโตวุฏฐะ เป็นช ือของยาวกาลิกท ีภิกษุเก็บไว้ในท ีอยู่ของตน แม้เป็นของสงฆ์
จัดเป็นอันโตวุฏฐะ แปลว่าอยู่ในภายใน
อันโตปักกะ เป็นช ือของยาวกาลิกท ีภิกษุหุงต้มในนั8น แปลว่าสุกในภายใน
สามปักกะ เป็นชื อของยาวกาลิกที ภิกษุทำให้สุกเอง
๗.๒ ท่านแสดงไว้ในบาลีมี ๘ ชนิดคือ
๑.น8ำมะม่วง ๒.น8ำชมพู่หรือน8ำลูกหว้า
๓.น8ำกล้วยมีเมล็ด ๔.น8ำกล้วยไม่เมล็ด
๕.น8ำมะซาง ๖.น8ำลูกจันทร์หรือองุ่น
๗.น8ำเง่าอุบล ๘.น8ำมะปรางหรือลิ8นจ ี
๘. ๘.๑ การทำสังฆอุโบสพต้องพร้อมด้วยองค์ ๔ คือ
๑.วันนั8นเป็นวัน ๑๔ หรือ ๑๕ คํ าหรือวันสามัคคีอย่างใดอย่างหนึ ง
๒.จำนวนภิกษุผู้ประชุม ๔ รูปเป็นอย่างน้อย
๓.เธอทั8งหลายไม่ต้องสภาคาบัติ
๔.บุคคลควรเว้นไม่มีในหัตบาส คือไม่ได้อยู่ในท ีประชุมนั8น
๘.๒ วิญญัติ คือการออกปากขอต่อคนไม่ควรขอ เช่นคฤหัสถ์ที มิใช่ญาติมิใช่ปวารณาโดยขอใน
ยามปกติที ไม่ได้ทรงอนุญาติ เป็นต้น จัดเข้าใจประเภทอเนสนา
๙. ๙.๑ ญัตติสังฆปวารณามี ๕ คือ
๑.เตวาจิกญัตติ ๒.เทววาจิกญัตติ
๓.เอกวาจิกญัตติ ๔.สมานวาสิกญัตติ
๕.สัพพสังคาหิกญัตติ
๙.๒ ดิรัจฉานวิชา คือ
๑.ความรู้ในการทำเสน่ห์ เพื อให้ชายหญิงรักกัน
๒.ความรู้ในการทำผู้นั8นผู้นี8ให้ถึงความวิบัติ
๓.ความรู้ในทางใช้ภูตผีออกฤทธิJ เดชต่างๆ
๔.ความรู้ในทางทำนายทายทัก เช่นรู้ว่าหวยจะออกอะไร
๕.ความรู้ในอันจะทำให้หลงงมงาย เข่นหุงปรอทให้มีอิทธิฤทธ์
๑๐. ๑๐.๑ อุโบสถเป็นช ือของการบำเพ็ญพรตอย่างหนึ งเน ืองด้วยการอดอาหาร แปลว่าการเข้าอยู่เป็น
ธรรมเนียมมาแต่ก่อน พระพุทธเจ้าได้ทรงอนุมัติธรรมเนียมดังกล่าวและรับสั งให้เป็นวัน
ประกอบศาสนกิจ
๑๐.๒ การกผู้ทำอุโบสถมี ๓ คือ สงฆ์ คณะ และ บุคคล


ก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************************
๑. ๑.๑ หลุภัณฑ์ และครุภัณฑ์ที เป็นของสงฆ์ คือของเช่นไร ? ๒๕๔๔
๑.๒ ในข้อ ๑.๑ นั&น อย่างไหนแจกกันได้ และไม่ได้ ?๒๕๔๔
๒. ๒.๑ องค์แห่งการถือวิสาสะมีเท่าไร อะไรบ้าง ?๒๕๔๒
๒.๒ วินัยกรรมกับสังฆกรรมต่างกันอย่างไร ?๒๕๔๔
๓. ๓.๑ กัปปิ ยภูมิท ีทรงอนุญาตเพ ือเป็นท ีเก็บของนั&น คืออะไรบ้าง ?๒๕๓๙
๓.๒ อุกเขปนียกรรม สงฆ์ควรทำแก่ภิกษุผู้ประพฤติเช่นไร ?๒๕๔๓
๔. ๔.๑ อธิษฐานบริขาร มีกี อย่าง อะไรบ้าง ?๒๕๔๓
๔.๒ การขาดอธิฐาน มีเหตุที ควรถือเป็นประมาณ ๕ ประการ คืออะไรบ้าง ?๒๕๓๙
๕. ๕.๑ การกระทำวินัยกรรมในวินัยมุขท่านระบุไว้กี อย่าง อะไรบ้าง?๒๕๓๘
๕.๒ การกระทำวินัยกรรมดังกล่าว มีจำกัดบุคคลหรือสถานที หรือไม่อย่างไร ?๒๕๓๘
๖. ๖.๑ สมบัติของภิกษุในทางพระวินัยมีเท่าไร ?อะไรบ้าง ๒๕๔๓
๖.๒ ภิกษุประพฤติเช่นไร ได้ชื อว่าโคจรวิบัติ?๒๕๓๘
๗. ๗.๑ มหาปเทศ ๔ คืออะไร บอกมาให้ครบ?๒๕๓๙
๗.๒ พระพุทธานุญาตพิเศษ ๕ คืออะไรบ้าง ?๒๕๓๙
๘. ๘.๑ ในวิบัติ ๔ ภิกษุประพฤติเช่นไร จัดเป็นสีลวิบัติ ?๒๕๓๘
๘.๒ ภิกษุประพฤติเช่นไร ได้ชื อว่า โคจรสมปนฺโน ?๒๕๓๘
๙. ๙.๑ อาจารวิบัติ คืออะไร ?๒๕๓๖
๙.๒ อาชีววิบัติ คืออะไร? ๒๕๓๖
๑๐. ๑๐.๑ วสฺสิกสาฏิก หมายถึงผ้าอะไร ?๒๕๓๙
๑๐.๒ ปจฺจตฺถรณ หมายถึงผ้าเช่นไร?๒๕๓๙
เฉลยวิชาวินัย นักธรรมชั นโท
กัณฑ์ที ๒๐ -๒๒
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************************
๑. ๑.๑ ลหุภัณฑ์คือของเบา มีบิณฑบาต เภสัช กับบริขารที จะใช้สำหรับตัวคือบาตร จีวร ประคตเอว
เข็ม มีดพับ มีดโกน
ครุภัณฑ์ คือของหนัก ไม่ใช่ของสำหรับใช้ให้สิ&นไป เป็นของควรรักษาไว้ได้นานเป็นเครื องใช้ใน
เสนาสนะ หรือเป็นตัวเสนาสนะเอง ตลอดถึงกุฏิและที ดิน
๑.๒ ลหุภัณฑ์เป็นของที แจกกันได้ ครุภัณฑ์เป็นของที แจกกันไม่ได้
๒. ๒.๑ องค์แห่งการถือวิสาสะมี ๕ คือ
๑.เป็นผู้เคยได้เห็นกันมา ๒.เป็นผู้เคยคบกันมา
๓.ได้พูดกันไว้ ๔.ยังมีชีวิตอยู่
๕.รู้ว่าของนั&นเราถือเอาแล้ว เจ้าของจักพอใจ
๒.๒ ต่างกันอย่างนี& กรรมท ีภิกษุแต่ละรูปหรือหลายรูปจะพึงกระทำตามพระวินัย เช่น การแสดง อาบัติ
อธิษฐาน วิกัป เป็นต้น เรียกว่าวินัยกรรม กรรมที ภิกษุครบองค์สงฆ์จตุวรรคพึงทำเป็นต้น พึงทำ
เป็นการสงฆ์ เช่นอปโลกนกรรม ญัตติกรรมเป็นต้น เรียกว่าสังฆกรรม
๓. ๓.๑ กัปปิยภูมิมี ๔ อย่างคือ
๑.อุสสาวนันติกา กัปปิยภูมิที ประกาศให้ได้ยินกัน
๒.โคนิสาติกา กัปปิยภูมิ ดุจเป็นที โคจ่อม
๓.คหปติกา เรีอนของคฤหบดี
๔.สัมมติกา กัปปิยภูมิที สงฆ์สมมติ
๓.๒ อุกเขปนียกรรม ควรทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้วไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ ที เรียกว่าไม่เห็นอาบัติหรือ
ยอมรับว่าเป็นอาบัติแต่ไม่แสดงที เรียกว่า ไม่ทำคืนอาบัติ
๔. ๔.๑ อธิฐานบริขารมี ๒ อย่างคือ
๑.อธิฐานด้วยกาย คือเอามือลูบบริขารท ีจะอธิษฐานนั&นเข้าทำความผูกใจตามคำอธิษฐาน
๒.อธิฐานด้วยวาจา คือลัน คำอธิษฐานนั&น ไม่ถูกของด้วยกายก็ได้
๔.๒ การขาดอธิฐาน มีเหตุที ควรถือเป็นประมาณ ๕ ประการคือ
๑.ให้แก่ผู้อื น ๒.ถูกโจรชิงไปหรือลักเอาไป
๓.มิตรถือเอาด้วยวิสาสะ ๔.ถอนเสียจากอธิษฐาน
๕.เป็นช่องทะลุ
๕. ๕.๑ การกระทำตามพระวินัย เช่นการแสดงอาบัติ อธิษฐาน วิกัป เป็นต้น เรียกว่า วินัยกรรม
๕.๒ มีกำจัดบุคคลและสถานท ีดังนี& แสดงอาบัติ ต้องแสดงแก่ภิกษุผู้มีอาวาสเสมอกัน อธิฐานต้องทำ
เองวิกัป ต้องทำแก่สหธรรมมิกทั&ง ๕ คือ ภิกษุ ภิกษุณี สิกขมานา สามเณร สามเณรี
รูปใดรูปหนึ ง ส่วนสถานท ี ห้ามไม่ให้ทำในท ีมืด แต่ในท ีนอกสีมาก็ทำได้ฯ
๖. ๖.๑ สมบัติของพระภิกษุในทางพระวินัย มี ๔
๑.สีลสมบัติ ๒.อาจารสมบัติ ๓.ทิฏฐิสมบัติ ๔.อาชีวสมบัติ
๖.๒ ภิกษุไปสู่บุคคลก็ดี สถานที ก็ดี อันภิกษุไม่ควรไป คือ
หญิงแพศยา๑ หญิงหม้าย๑ สาวเทื&อ๑
ภิกษุณี๑ บัณเฑาะก์๑ ร้านสุรา๑ ได้ชื อว่า โคจรวิบัติ
๗. ๗.๑ มหาปเทส ๔ คือ
๑.สิ งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่า ไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ งท ีไม่ควร สิ งนั&นไม่ควร
๒.สิ งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่า ไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ งท ีควร ขัดกันกับสิ งท ีไม่ควร สิ งนั&นควร
๓.สิ งใดไม่ได้ทรงอนุญาติไว้ว่า ควร แต่เข้ากันกับสิ งท ีไม่ควร ขัดกันกับสิ งท ีควร สิ งนั&นไม่ควร
๔.สิ งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่า ควร แต่เข้ากันกับสิ งท ีควร ขัดกันกับท ีไม่ควร สิ งนั&นควร
๗.๒ พระพุทธานุญาตพิเศษ คือ
๑.ทรงอนุญาตเฉพาะอาพาธ ๒.ทรงอนุญาตเฉพาะบุคคล
๓.ทรงอนุญาตเฉพาะกาล ๔.ทรงอนุญาตเฉพาะถิ น
๕.อนุญาตเฉพาะยา
๘. ๘.๑ สีลวิบัติ ความเสียหายแห่งศีล ท่านจัดเอาอาการต้องอาบัติปาราชิก หรือสังฆาทิเสสอันเป็น
อาบัติหนัก
๘.๒ ภิกษุเว้นจากโคจร ๖ อย่าง ไปหาใครท ีไหน ก็ปฏิบัติพอดี พองามไม่พรํ าเพร ือ ได้ช ือว่า
โคจรสมฺปนฺโน ผู้ถึงพร้อมด้วยโคจร
๙. ๙.๑ อาจารวิบัติ คือความเสียมรรยาท ท่านจัดเอาการต้องลหุกาบัติ ตั&งแต่ถุลลัจจัย
ลงมาจนถึงทุพภาสิต
๙.๒ อาชีววิบัติ คือ่ความเสียหายแห่งการเลี&ยงชีพ ท่านจัดเอาการต้องอาบัติบางอย่างท ีต้องเพราะเหตุนี&
๑๐. ๑๐.๑ วสูสิกสาฏิก คือผ้าอาบน&ำฝน
๑๐.๒ ปจฺจตฺถรณ คือผ้าปูที นอน






















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น