วันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2558

อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ปัญหาธรรมวิภาค นักธรรมชั ้นตรี พร้อมเฉลย

ปัญหาธรรมวิภาค นักธรรมชั นตรีหมวดที ๒ - ๓อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย

*************************************
๑. ๑.๑ พระธรรมคืออะไร ? ๒๕๔๐
๑.๒ ผู้ปฏิบัติดี ได้รับอานิสงส์อย่างไร ? ๒๕๔๐
๒. ๒.๑ ธรรมคุ้มครองโลกมีอะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๒.๒ ธรรมข้อนีจ) ะคุ้มครองโลกได้อย่างไร ? ๒๕๔๔
๓. ๓.๑ จะเรียกคนเช่นไรว่าเป็นหนีท) ่านผู้อ2ืนอยู่ ? ๒๕๔๓
๓.๒ บุคคลมีกาย วาจา ใจ งดงาม เพราะปฏิบัติธรรมอะไร ? ๒๕๔๓
๔. ๔.๑ ทุจริต คืออะไร มีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๔.๒ คนท2ีรับปากคำเขาไว้แล้ว แต่ไม่ทำตามนัน) จัดเข้าในทุจริตข้อไหน ? ๒๕๔๓
๕. ๕.๑ มูลเหตุที2ทำให้บุคคลทำความชั2วเรียกว่าอะไร มีอะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๕.๒ เฉพาะข้อ ๒ มีอธิบายว่าอย่างไร ? ๒๕๔๓
๖. ๖.๑ ส2ิงท2ีเป็นท2ีตัง) แห่งการบำเพ็ญบุญ เรียกว่าอะไร โดยย่อมีเท่าไร อะไร
บ้าง ? ๒๕๔๓
๖.๒ วัตถุที2ควรให้ ท่านแสดงไว้ ๑๐ อย่าง มีอะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๗. ๗.๑ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ คือใคร รวมเรียกว่าอะไร ? ๒๕๔๒
๗.๒ ไตรสรณคมน์ คืออะไร ? ๒๕๔๒
๘. ๘.๑ โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ ข้อ คืออะไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๘.๒ ในโอวาท ๓ ข้อนัน) ข้อไหนเป็นคำสง2ั คือห้ามทำ ข้อไหนเป็นคำสอน คือ
คำแนะนำ ? ๒๕๔๒
๙. ๙.๑ อกุศลมูลคืออะไร มีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๙.๒ เม2ือรู้ว่าอกุศลมูลเหล่านัน) เกิดขึน) ในใจ ควรทำอย่างไร ? ๒๕๔๑
๑๐. ๑๐.๑ ความทุกข์ท2ีมนุษย์กำลังประสบอยู่ทุกวันนี ) มีสาเหตุมาจากอะไร ? ๒๕๓๙
๑๐.๒ จะดับความทุกข์ในข้อ ๑๐.๑ นัน) ได้อย่างไร ? ๒๕๓๙
-----------------------------------------------


เฉลยปัญหาธรรมวิภาค นักธรรมชั นตรีหมวดที ๒ - ๓อบรมก่อนสอบสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย

*************************************
๑. ๑.๑ คือ พระธรรมวินัยที2เป็นคำสั2งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ
๑.๒ ได้รับอานิสงส์อย่างนี )คือ รักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในท2ีชว2ั ได้รับความ
สุขเป็นชัน) ๆ ตามสมควรแก่ความปฏิบัติ เช่น ธรรมคือ หิริและโอตตัปปะ
มีอยู่ในผู้ใด ย่อมนำผู้นัน) ไม่ให้ทำทุจริตอันเป็นเหตุให้ถูกลงโทษต่างๆ มีถูก
ออกจากตำแหน่งและถูกคุมขัง เป็นต้น ฯ
๒ ๒.๑ มีอยู่ ๒ อย่าง คือ ๑.หิริ ความละอายแก่ใจ ๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัว ฯ
๒.๒ ธรรมข้อนัน) จะคุ้มครองโลกได้ เน2ืองจากปัจจุบันโลกท2ีเกิดวิกฤตการณ์ ในด้าน
ต่างๆ ส่วนหนง2ึ นัน) เป็ นเพราะชาวโลกละทิง) ธรรม คือ หิริ และโอตตัปปะ ไม่
ละอายแก่ใจ ไม่เกรงกลัวต่อผลแห่งความชั2ว ขาดเมตตา กรุณา เป็นคนเห็น
แก่ตัวจัด มีการเบียดเบียน กระทำทุจริต โดยวิธีต่างๆ หากชาวโลกมีธรรมคู่นี )
ตัง) มน2ั ในใจแล้ว ก็จะช่วยคุ้มครองโลกให้พ้นจากภาวะวิกฤตในปัจจุบันได้ ฯ
๓. ๓.๑ เรียกคนผู้ได้รับอุปการะจากท่านแล้ว ว่าเป็นหนีบ) ุญคุณของท่าน เช่นลูกเป็ น
หนีม) ารดาบิดา ศิษย์เป็นหนีค) รูอาจารย์ ประชาราษฎร์เป็นหนีส) มเด็จพระเจ้า
แผ่นดิน พุทธบริษัทเป็นหนีพ) ระพุทธเจ้า เม2ือเป็นหนีบ) ุญคุณท่านอยู่เช่นนี )
สมควรจะทำปฏิการะตอบแทนคุณท่านจึงจะเปลือ) งหนีเ)สียได้ฯ
๓.๒ เพราะปฏิบัติธรรมอันทำให้งาม ๒ อย่าง คือ ๑.ขันติ ความอดทน ๒. โสรัจจะ
ความเสงี2ยม ฯ
๔ ๔.๑ ทุจริต คือประพฤติชั2ว ประพฤติเสียหาย มี ๓ คือ ๑.ประพฤติชั2วด้วยกาย เรียกว่า
กายทุจริต ๒.ประพฤติชั2วด้วยวาจา เรียก วจีทุจริต ๓.ประพฤติชั2วด้วยใจ เรียก
มโนทุจริต ฯ
๔.๒ จัดเข้าในวจีทุจริต ฯ
๕. ๕.๑ เรียกว่า อกุศลมูล หมายถึง รากเหง้าของอกุศล มี ๓ คือ ๑.โลภะ อยากได้
๒.โทสะ คิดประทุษร้ายเขา ๓.โมหะ หลงไม่รู้จริง
๕.๒ มีอธิบายว่า เมื2อมีโทสะแล้ว ความไม่ดีอย่างอื2นเช่น ความจองล้างจองผลาญ
ความจองเวร การพูดคำหยาบ การว่าร้าย การทำร้าย และการฆ่าเขาเป็นต้น ที2
ยังไม่เกิด ก็เกิดขึน) ท2ีเกิดขึน) แล้วก็เจริญมากขึน) ฯ
๖ ๖.๑ เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ โดยย่อมี ๓ คือ ๑. ทานมัย บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน
๒.สีลมัย บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล ๓. ภาวนามัย บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา
๖.๒ มีดังต่อไปนีค) ือ ข้าว นำ) ผ้า พาหนะ มาลัย ของหอม เคร2ืองลูบไล้ ท2ีนอนท2ีพัก
และประทีป แม้ส2ิงอ2ืนอันเป็นกัปปิ ยะไม่มีโทษก็สงเคราะห์เข้าในทานวัตถุนี )
๗. ๗.๑ ท่านผู้สอนประชุมชนให้ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ตามพระธรรมวินัย ท2ีท่าน
เรียกว่าพระพุทธศาสนา ชื2อว่า พระพุทธเจ้า พระธรรมวินัยคำสั2งสอนของ
พระพุทธเจ้าช2ือว่าพระธรรม หมู่ชนท2ีฟังคำสอนของพระพุทธเจ้า ปฏิบัติชอบตาม
พระธรรมวินัย ชื2อว่าพระสงฆ์ ฯ รวมเรียกว่าพระรัตนตรัย ฯ
๗.๒ คือ การถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะฯ
๘. ๘.๑ โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ ข้อ คือ ๑. เว้นจากทุจริต คือ ประพฤติชั2วด้วยกาย วาจา
ใจ ๒.ประกอบสุจริต คือ ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ๓. ทำใจให้หมดจด
จากเครื2องเศร้าหมอง คือ กิเลส
๘.๒ ข้อ ๑ เป็นคำสั2งคือห้ามทำ ข้อ ๒ และข้อ ๓ เป็นคำสอนคือคำแนะนำให้ทำ ฯ
๙. ๙.๑ คือรากเหง้าของอกุศลฯ มี ๓อย่างคือ โลภะ ความอยากได้ ๑ โทสะ ความคิด
ประทุษร้ายเขา ๑ โมหะ หลงไม่รู้จริง ๑ ฯ
๙.๒ เม2ือรู้ว่าอกุศลมูลเหล่านัน) เกิดขึน) แล้ว ควรละเสีย ฯ
๑๐. ๑๐.๑ มีสาเหตุมาจากตัณหา คือความอยากมีประการต่าง ๆ ได้แก่ กามตัณหา ความ
อยากในอารมณ์ ที2น่ารักใคร่น่าพอใจ ภวตัณหา ความอยากเป็นโน้นเป็นนี2
วิภวตัณหา ความอยากไม่เป็นโน้นไม่เป็นนี2 (อยากเปลี2ยน )
๑๐.๒ จะดับความทุกข์นัน) ได้ ต้องปฏิบัติตามอริยมรรคมีองค์ ๘ คือ ปัญญาอันเห็นชอบ
ดำริชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ เลีย) งชีพชอบ ทำความเพียรชอบ ตัง) สติชอบ ตัง) ใจ
ไว้ชอบ หรือปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา คือศีล สมาธิ และปัญญา ฯ


ปัญหาธรรมวิภาค นักธรรมชั นตรีหมวด ๔–๕อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย

***********************************
๑. ๑.๑ ปธาน ๔ มีอะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๑.๒ คนเสพยาเสพติด เพียรพยายามจะเลิกให้ได้ ช"ือว่าตั&งอยู่ในปธานข้อไหน ? ๒๕๔๔
๒. ๒.๑ อธิษฐานธรรมคือ ธรรมท ีควรตั งไว้ในใจ มีก ีอย่าง อะไรบ้าง?๒๕๔๓
๒.๒ ผู้ท ีทำงานไม่สำเร็จผลตามท ีมุ่งหมาย เพราะขาดคุณธรรมอะไรบ้าง ?๒๕๔๓
๓. ๓.๑ พรหมวิหาร ๔ มีอะไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๓.๒ ในพรหมวิหาร ๔ ข้อนั&น ข้อไหนสำคัญท"ีสุด เพราะอะไร ? ๒๕๔๒
๔. ๔.๑ อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ คือ อะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๔.๒ อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่นั&นข้อไหนสำคัญท"ีสุด เพราะเหตุอะไร ? ๒๕๔๑
๕. ๕.๑ วุฑฒิ คือ อะไร มีกี"อย่าง ตอบมาดู ? ๒๕๔๐
๕.๒ วุฑฒิ ข้อ ๔ มีอธิบายอย่างไร ? ๒๕๔๐
๖. ๖.๑ อริยสัจ ๔ มีอะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๖.๒ ปรารถนาสิ"งใด ไม่ได้สมหวัง จัดเป็นอริยสัจข้อไหน ? ๒๕๔๔
๗. ๗.๑ กรรมที"เป็นบาปหนักที"สุด มีชื"อเรียกว่าอะไร ? ๒๕๔๔
๗.๒ เพราะเหตุไร จึงเป็นกรรมที"เป็นบาปหนักที"สุด ? ๒๕๔๔
๘. ๘.๑ ขันธ์ ๕ คือ อะไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๘.๒ จงจัดขันธ์ ๕ ลงในนามรูปมาดู ? ๒๕๔๒
๙. ๙.๑ นิวรณธรรม คือ อะไร มีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๙.๒ จงจัดนิวรณธรรมทั&งหมดลงในอกุศลมูลมาดู ? ๒๕๔๑
๑๐. ๑๐.๑ ธรรมเครื"องทำความกล้าหาญ ๕ อย่าง มีอะไรบ้าง ? ๒๕๓๕
๑๐.๒ การฟังธรรมมีอานิสงส์เท่าไร จงตอบมาให้ครบ ? ๒๕๓๔
-----------------------------------------

เฉลยธรรมวิภาค นักธรรมชั นตรีหมวด ๔–๕อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย

***********************************
๑. ๑.๑ ปธาน ๔ มี ๑. สังวรปธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ&นในสันดาน
๒. ปหานปธาน เพียรละบาปท"ีเกิดขึ&นแล้ว
๓. ภาวนาปธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ&นในสันดาน
๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลท"ีเกิดขึ&นแล้วไว้ให้เส"ือม
๑.๒ คนเสพยาเสพติด เพียรพยายามจะเลิกให้ได้ตั&งอยู่ในปหานปธาน
๒. ๒.๑ อธิษฐานธรรม คือ ธรรมท"ีควรตั&งไว้ในใจ มี ๔ อย่าง คือ
๑. ปัญญา รอบรู้สิ"งที"ควรรู้
๒. สัจจะ ความจริง คือ ประพฤติสิ"งใดก็ให้ได้จริง
๓. จาคะ สละสิ"งท"ีเป็นข้าศึกแก่ความจริง
๔. อุปสมะ สงบใจจากสิ"งท"ีเป็นข้าศึกแก่ความสงบ
๒.๒ เพราะขาดอิทธิบาท คือ คุณเครื"องให้สำเร็จความประสงค์ ๔ อย่าง คือ
๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ"งนั&น
๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ"งนั&น
๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ ในสิ"งนั&นไม่วางธุระ
๔. วิมังสา หมัน" ตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ"งนั&น
๓. ๓.๑ พรหมวิหาร ๔ คือ
๑. เมตตา ความรักใคร่ปรารถนาจะให้ผู้อื"นเป็นสุข
๒. กรุณา ความสงสารคิดจะช่วยให้พ้นทุกข์
๓. มุทิตา ความพลอยยินดีเมื"อผู้อื"นได้ดี
๔. อุเบกขา ความวางเฉยไม่ดีใจไม่เสียใจ ในเมื"อผู้อื"นถึงความวิบัติ
๓.๒ ข้อ ๔ คือ อุเบกขา สำคัญที"สุด เพราะเป็นธรรมสนับสนุนให้ใช้พรหมวิหาร ๓ ข้อ
เบื&องต้นได้ถูกต้องดี
๔. ๔.๑ อันตรายของพระภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ คือ
๑. อดทนต่อคำสอนไม่ได้ เบ"ือต่อคำสั"งสอน ขี&เกียจทำตาม
๒. เป็นคนเห็นแก่ปากแก่ท้อง ทนความอดอยากไม่ได้
๓. เพลิดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากได้สุขยิง" ๆ ขึ&นไป
๔. รักผู้หญิง
๔.๒ ข้อ ๓ สำคัญ เพราะกามคุณเป็นส่วนใหญ่ อันตรายข้ออื"น ๆ ย่อมรวมลงในกามคุณ
ทั&งสิ&น
๕. ๕.๑ วุฑฒิ คือ ธรรมเป็นเครื"องเจริญ มี ๔ อย่าง คือ
๑. สัปปุริสังเสวะ คบท่านผู้ประพฤติชอบด้วย กาย วาจา ใจ ที"เรียกว่า สัตบุรุษ
๒. สัทธัมมัสสวนะ ฟังคำสอนของท่านโดยเคารพ
๓. โยนิโสมนสิการ ตริตรองให้รู้จักสิ"งท"ีดีหรือชัว" โดยอุบายท"ีชอบ
๔. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมซึ"งได้ตรองเห็นแล้ว
๕.๒ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ คือ เมื"อได้คบสัตบุรุษ ฟังธรรมของท่านแล้วพิจารณา
ตริตรองโดยแยบคายแล้วปฏิบัติตามสมควรแก่ตน ตามสมควรแก่หน้าที" ตามสมควร
แก่เพศ ตามสมควรแก่วัย หรือตามที"ตนได้ตรองเห็นแล้ว เป็นต้น
ชื"อว่า ธัมมานุธัมมปฏิบัตติ
๖. ๖.๑ อริยสัจ ๔ มี
๑. ทุกข์ คือ ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ
๒. สมุทัย คือ เหตุให้เกิดทุกข์
๓. นิโรธ คือ ความดับทุกข์
๔. มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
๖.๒ ปรารถนาสิ"งใด ไม่ได้สมหวัง จัดเป็นทุกข์
๗. ๗.๑ กรรมที"เป็นบาปหนักที"สุดมีชื"อเรียกว่า อนันตริยกรรม คือ
๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา
๒. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา
๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์
๔. โลหิตุปบาท ทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ&นไป
๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน
๗.๒ ท"ีเป็นบาปหนักท"ีสุด เพราะห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ตั&งอยู่ในฐานปาราชิกของผู้นับ
ถือพระพุทธศาสนา ห้ามไม่ให้ทำเด็ดขาด
๘. ๘.๑ ขันธ์ ๕ มี รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
๘.๒ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ จัดเป็นนาม รูป คงเป็นรูป
๙. ๙.๑ นิวรณธรรม คือ ธรรมอันกั&นจิตไม่ให้บรรลุความดี มี ๕ อย่าง คือ
กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา
๙.๒ จัดกามฉันทะ ลงในโลภะ จัดพยาบาทลงในโทสะ จัดถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ และ
วิจิกิจฉา ทั&ง ๓ นี& ลงในโมหะ
๑๐. ๑๐.๑ ธรรมเครื"องทำความกล้าหาญมี ๕ คือ
๑. สัทธา เช"ือสิ"งท"ีควรเช"ือ
๒. สีล รักษากาย วาจาให้เรียบร้อย
๓. พาหุสัจจะ ความเป็นผู้ศึกษามาก
๔. วิริยารัมภะ ปรารภความเพียร
๕. ปัญญา รอบรู้สิ"งที"ควรรู้
๑๐.๒ อานิสงส์ของการฟังธรรมมี ๕ อย่าง คือ
๑. ผู้ฟังย่อมได้ฟังสิ"งท"ียังไม่เคยฟัง
๒. สิ"งใดท"ีเคยฟังแล้วแต่ยังไม่เข้าใจชัด ย่อมเข้าใจสิ"งนั&นชัด
๓. บรรเทาความสงสัยลงเสียได้
๔. ทำความเห็นให้ถูกต้องได้
๕. จิตของผู้ฟังย่อมผ่องใส
-------------------------------------

ปัญหาธรรมวิภาค นักธรรมชั นตรีหมวด ๖–๑๐อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย

*******************************
๑. ๑.๑ อินทรีย์ ๖ กับอารมณ์ ๖ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ? ๒๕๔๓
๑.๒ อะไรเรียกว่า สัมผัส ? ๒๕๔๓
๒. ๒.๑ หลักธรรมเป็นท%ีตั'งแห่งความระลึกถึงกันและกัน ช%ือว่าอะไร ? ๒๕๓๘
๒.๒ หลักธรรมนั'นได้แก่อะไรบ้าง ? ๒๕๓๘
๓. ๓.๑ อานิสงส์แห่งการปฏิบัติตามสาราณียธรรม มีอะไรบ้าง ? ๒๕๓๐
๓.๒ สาราณียธรรมข้อไหนสำคัญ เพราะเหตุไร ? ๒๕๔๑
๔. ๔.๑ อายตนะ ๑๒ คืออะไรบ้าง ? ๒๕๓๘
๔.๒ ในอายตนะ ๑๒ นั'น อย่างไหนเป็นรูป อย่างไหนเป็นนาม ? ๒๕๓๘
๕. ๕.๑ คารวะมีกี%อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๓๒
๕.๒ การคารวะในบิดามารดาครูอาจารย์ จัดเข้าในอย่างไหน เพราะเหตุไร ? ๒๕๓๒
๖. ๖.๑ ทรัพย์ประเภทไหนเรียกว่า “อริยทรัพย์” ? ๒๕๔๔
๖.๒ อริยทรัพย์ดีกว่าทรัพย์ภายนอกเพราะเหตุไร ? ๒๕๔๔
๗. ๗.๑ โลกธรรมมีกี%อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๗.๒ ท่านสอนให้ปฏิบัติต่อโลกธรรมอย่างไร ? ๒๕๔๔
๘. ๘.๑ มละ คือ มลทิน หมายถึงอะไร ? ๒๕๔๓
๘.๒ มลทินข้อที% ๑ และข้อที% ๙ คืออะไร แก้ด้วยธรรมอะไร ? ๒๕๔๓
๙. หลักธรรมต่อไปนี'แปลว่าอะไร และเป็นช%ือของธรรมอะไร ? ๒๕๓๙
๙.๑ สีลมัย
๙.๒ สีลกถา
๑๐. ๑๐.๑ อนุสสติ ๑๐ ว่าโดยชื%อ คืออะไรบ้าง ?๒๕๓๑
๑๐.๒ ประชุมอย่างไรไม่ควร จงตอบให้มีหลักประกอบด้วย?๒๕๓๘
*********************************

เฉลยธรรมวิภาค นักธรรมชั นตรีหมวด ๖ – ๑๐อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย

********************
๑. ๑.๑ อินทรีย์ ๖ กับอารมณ์ ๖ มีความสัมพันธ์กันอย่างนี'
ตา เป็นใหญ่ในการเห็นอารมณ์คือรูป
หู เป็นใหญ่ในการฟังอารมณ์คือเสียง
จมูก เป็นใหญ่ในการสูดดมอารมณ์คือกลิ%น
ลิ'น เป็นใหญ่ในการลิ'มอารมณ์คือรส
กาย เป็นใหญ่ในการถูกต้องอารมณ์คือโผฏฐัพพะ
ใจ เป็นใหญ่ในการรู้อารมณ์คือธรรม
๑.๒ การกระทบกันระหว่างอายตนะภายในมีตาเป็นต้น อายตนะภายนอกมี
รูปเป็นต้นเกิดความรู้ขึ'น เรียกว่า จักขุวิญญาณ ทั'ง ๓ อย่างนี'ร่วมกัน
ในขณะเดียวกันเรียกว่า สัมผัส
๒. ๒.๑ หลักธรรมเป็นท%ีตั'งแห่งความระลึกถึงกันและ กันช%ือว่า สาราณียธรรม
๒.๒ หลักธรรมนั'นได้แก่ เข้าไปตั'งเมตตากายกรรม ๑ เมตตาวจีกรรม ๑ เมตตา
มโนกรรม๑ เฉลี%ยลาภ ๑ มีศีลเสมอกัน ๑ มีความเห็นร่วมกัน๑
๓. ๓.๑ อานิสงส์แห่งการปฏิบัติสาราณียธรรม ดังนี' คือ เป็นท%ีรัก เป็นท%ีเคารพ
เป็นไปเพื%อสงเคราะห์กันและกัน เป็นไปเพื%อความไม่วิวาทกัน เป็นไปเพื%อ
ความพร้อมเพรียงกัน
๓.๒ สาราณียธรรม ข้อที% ๖ สำคัญ เพราะทิฏฐิสามัญญตา มีความเห็นเสมอ
กันย่อมพาให้ตั'งมัน% ในความสามัคคี ให้มีความเมตตาอารีเอื'อเฟื' อเผอ%ื แผ่ กัน
ประพฤติดีเสมอกัน อันเป็นทางตัดการทะเลาะวิวาท สามารถควบคุมสาราณีย
ธรรมข้ออ%ืน ๆให้ยัง% ยืนอยู่ได้
๔. ๔.๑ อายตนะ ๑๒ คือ ตา หู จมูก ลิ'น กาย ใจ รูป เสียง กลิ%น รส โผฏฐัพพะ
ธรรมารมณ์
๔.๒ ตา หู จมูก ลิ'น กาย รูป เสียง กลิ%น รส โผฏฐัพพะ ทั'ง ๑๐ อย่างนี' จัด
เป็นรูป เป็น ใจและธรรมารมณ์ คืออารมณ์ท%ีเกิดกับใจ นี'เป็นนาม
๕. ๕.๑ คารวะมี ๖ คือ เคารพในพระพุทธเจ้า ๑ เคารพในพระธรรม ๑เคารพใน
พระสงฆ์ ๑ในการศึกษา๑ ในความไม่ประมาท ๑ ในการปฏิสันถาร๑
๕.๒ การคารวะในบิดามารดาครูอาจารย์ จัดเข้าในเคารพในพระธรรม เพราะ
พระธรรมคือคำสั%งสอนของพระพุทธเจ้า พระองค์สอนให้เคารพบูชาคนท%ีควร
เคารพบูชา เช่นบิดามารดาครูอาจารย์เป็นต้น
๖. ๖.๑ ทรัพย์คือคุณงามความดีที%มีในสันดานอย่างประเสริฐ เรียกว่า อริยทรัพย์
มีศรัทธา ศีลเป็นต้น
๖.๒ ดีกว่า เพราะอริยทรัพย์เป็นคุณธรรมเคร%ืองบำรุงจิตใจให้ปลื'ม ให้อบอุ่นมี
แล้วไม่ต้องเป็นทุกข์กังวลในการคุ้มครองรักษา ใครแย่งชิงเอาไปไม่ได้ ใช้
เท่าไรไม่ต้องกลัวหมด ไม่ต้องเส%ียงภัยในการแสวงหา ทั'งสามารถติดตัวไปใน
สัมปรายภพได้ด้วย
๗. ๗.๑ โลกธรรมมี ๘ อย่างคือ มีลาภ ๑ เสื%อมลาภ ๑ มียศ ๑ เสื%อมยศ๑
สรรเสริญ ๑ นินทา ๑ สุข ๑ ทุกข์๑
๗.๒ ท่านสอนให้ปฏิบัติต่อโลกธรรมอย่างนี' คือ อย่างใดอย่างหนึ%งเกิดขึ'น ควร
พิจารณาว่า สิ%งนี' เกิดขึ'นแล้วแก่เรา มันเป็นของไม่เท%ียง เป็นทุกข์มีความ
แปรปรวนเป็นธรรมดา ควรรู้ตามเป็นจริง อย่าให้ครอบงำจิตได้คืออย่ายินดีใน
ส่วนที%ปรารถนา อย่ายินร้ายในส่วนที%ไม่ปรารถนา
๘. ๘.๑ มละคือมลทิน หมายถึง กิเลสเป็นเครื%องทำจิตให้เศร้าหมอง ไม่ผ่องใส
๘.๒ มลทินข้อที%๑ คือโกรธ แก้ด้วยเจริญเมตตา และมลทินข้อที%๙ คือเห็นผิด
แก้ด้วยสัมมาทิฏฐิ
๙. ๙.๑ สีลมัย แปลว่า บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล เป็นชื%อของบุญกิริยาวัตถุ คือ
สิ%งเป็นท%ีตั'งแห่งการบำเพ็ญบุญ
๙.๒ สีลกถา แปลว่า ถ้อยคำท%ีชักชวนให้อยู่ในศีล เป็นช%ือของกถาวัตถุคือถ้อย
คำที%ควรพูด
๑๐. ๑๐.๑ อนุสสติ ๑๐ ว่าโดยชื%อ คือ พุทธานุสสติ๑ ธัมมานุสสติ ๑ สังฆานุสสติ๑
สีลานุสสติ ๑ จาคานุสสติ๑ เทวตานุสสติ๑ มรณัสสติ๑ กายคตาสติ ๑ อานา
ปานสติ ๑ อุปสมานุสสติ๑
๑๐.๒ ถ้าประชุมกันด้วยเรื%องหาประโยชน์มิได้ หรือประชุมพูดเรื%อง ติรัจฉาน
กถา อย่างนี'ไม่ควร ดังแสดงไว้ในกถาวัตถุ ๑๐ ข้อท%ี ๔ ว่า อสังสัคคกถา
ถ้อยคำท%ีชักนำไม่ให้ระคนด้วยหมู่
*****************************





















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น