วันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2558

อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ปัญหาพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ นักธรรม เอก


ปัญหาพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ น.ธ.เอก
หมวดที ๑–๔
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
****************************
๑. ๑.๑ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ต่อไปนี ตราขึน ในรัชกาลใด และใช้ถึงเม'ือใด ? ๒๕๓๙
๑.พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑
๒.พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที' ๒ ) พุทธศักราช ๒๕๓๕
๑.๒ ในปัจจุบันใช้พระราชบัญญัติฉบับใดเป็นหลักในการปกครองคณะสงฆ์ ?๒๕๓๙
๒. ๒.๑ ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กำหนดองค์ประกอบของมหาเถร
สมาคมไว้อย่างไร ? ๒๕๔๔
๒.๒ มหาเถรสมาคม มีอำนาจหน้าที'อย่างไร ตอบเพียง ๒ ข้อ ? ๒๕๔๔
๓. ๓.๑ กรรมการมหาเถรสมาคมดำรงอยู่ในตำแหน่งได้คราวละก'ีปี ? ๒๕๔๓
๓.๒ ผู้จะดำรงตำแหน่งเลขาธิการมหาเถรสมาคม มีกำหนดไว้อย่างไร ? ๒๕๔๓
๔. ๔.๑ องค์กรปกครองสูงสุดคือใคร ใครเป็นประธาน ? ๒๕๔๒
๔.๒ ในกฎมหาเถรสมาคม พระสังฆาธิการหมายถึงใคร ได้แก่ใครบ้าง ? ๒๕๔๑
๕. ๕.๑ ใครเป็นผู้แต่งตัง สมเด็จพระสังฆราช และสมเด็จพระสังฆราชทรงพ้นจากตำแหน่ง
ในกรณีใดบ้าง ? ๒๖๓๘
๕.๒ เมื'อตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชว่างลง มีวิธีปฏิบัติอย่างไร ? ๒๕๓๘
๖. ๖.๑ กฎมหาเถรสมาคม กำหนดพระอุปัชฌาย์ไว้ก'ีประเภท แต่ละประเภทใครเป็นผู้แต่งตัง ? ๒๕๔๑
๖.๒ ภิกษุได้รับแต่งตัง ให้เป็นผู้ปกครองในเขตปกครองนัน ๆ มีช'ือเรียกว่าอย่างไร ? ๒๕๒๕
๗. ๗.๑ สำนักเลขาธิการมหาเถรสมาคมตัง อยู่ท'ีไหน ผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการมหาเถรสมาคม
จะต้องพ้นจากตำแหน่งเมื'อไร ? ๒๕๑๘
๘. ๘.๑ ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ให้จัดแบ่งเขตการปกครองคณะสงฆ์
ส่วนภูมิภาคไว้อย่างไร ?๒๕๔๔
๘.๒ พระภิกษุจะต้องรับนิคหกรรมเมื'อทำผิดเช่นไร และได้รับนิคหกรรมให้สึก ต้องสึกภายใน
เวลาเท่าไร?๒๕๔๔
๙. ๙.๑ พระภิกษุจะไม่สังกัดอยู่ในวัดใดวัดหนง'ึ ได้หรือไม่ อ้างมาตราประกอบด้วย ? ๒๕๔๔
๙.๒ ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ. ศ.๒๕๐๕ (ฉบับที'๒) พ.ศ.๒๕๓๕ กำหนดเจ้าคณะ
ปกครองสงฆ์ไว้ก'ีชัน ใครบ้าง ? ๒๕๔๒
๑๐. ๑๐.๑ มาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที'๒) พ.ศ. ๒๕๐๕ กำหนดความผิด
ของพระภิกษุไว้อย่างไร ?๒๕๔๑
๑๐.๒ คำว่า ไวยาวัจกร ตามความในมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
นัน ได้แก่บุคคลเช่นไร ? ๒๕๒๙
เฉลยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ น.ธ. เอก
หมวดที ๑ -๔
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*********************
๑. ๑.๑ ๑.พระราชบัญญัติลักษณะการปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. ๑๒๑ ตราขึน ในรัชกาล
ที' ๕ ใช้มาถึง พ.ศ.๒๔๘๔
๒.พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับท'ี ๒ พุทธศักราช ๒๕๓๕ ตราขึน ในรัชกาลท'ี ๙
ใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน
๑.๒ ในปัจจุบันใช้พระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ์ พ. ศ. ๒๕๐๕ และพระราช
บัญญัติคณะสงฆ์( ฉบับที' ๒) พุทธศักราช ๒๕๓๕ เป็นหลักในการปกครองคณะ
สงฆ์ เพราะโดยหลักการทัง สองฉบับนี เป็นอย่างเดียวกันเพียงแต่ฉบับนีต ราขึน เพ'ือ
ปรับปรุงฉบับแรกให้รัดกุมและเหมาะสมย'ิงขึน เหมือนกับพุทธบัญญัติและอนุบัญญัติ
๒. ๒.๑ องค์ประกอบของมหาเถรสมาคม กำหนดไว้ดังนี
สมเด็จพระสังฆราช ทรงดำรงตำแหน่งประธานกรรมการโดยตำแหน่ง
สมเด็จพระราชาคณะทุกรูป เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง และพระราชคณะซึ'งสมเด็จ
พระสังฆราชทรงแต่งตัง มีจำนวนไม่เกิน ๑๒ รูป เป็นกรรมการ
๒.๒ มหาเถรสมาคมมีอำนาจหน้าท'ีอย่างนี ( ตอบเพียง๒ข้อ)
๑.ปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปโดยเรียบร้อยดีงาม
๒.ปกครองและกำหนดการบรรพชาสามเณร
๓.ควบคุมและการสาธารณะ ส่งเสริมการศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ของคณะสงฆ์
๔.รักษาหลักพระธรรมวินัยของพระพุทธศาสนา
๕.ปฏิบัติหน้าท'ีอ'ืนๆตามท'ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินีห รือกฎหมายอ'ืน
๓. ๓.๑ กรรมการมหาเถรสมาคมที'เป็นสมเด็จพระราชคณะไม่มีกำหนดเวลา ส่วนกรรมการมหาเถร
สมาคมท'ีสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตัง ดำรงอยู่ในตำแหน่งคราวละ ๒ ปี
๓.๒ ตำแหน่งเลขาธิการมหาเถรสมาคมมีกำหนดไว้ว่า ต้องเป็นอธิบดีกรมการศาสนา (โดยพระ
ราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ (ฉบับที'๒) พ.ศ.๒๕๓๕ มาตรา ๑๓ ความว่า ให้
อธิบดีกรมการศาสนาเป็นเลขาธิการมหาเถรสมาคมโดยตำแหน่ง
๔. ๔.๑ องค์กรปกครองสงฆ์สูงสุดได้แก่มหาเถรสมาคม สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆ
ปริณายกเป็นประธาน
๔.๒ พระสังฆาธิการ หมายถึงพระภิกษุผู้ดำรงตำแหน่งปกครองสงฆ์ ได้แก่
๑.เจ้าคณะใหญ่ ๒. เจ้าคณะภาค รองเจ้าคณะภาค
๓.เจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด
๔.เจ้าคณะอำเภอ รองเจ้าคณะอำเภอ
๕.เจ้าคณะตำบล รองเจ้าคณะตำบล
๖.เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส
๕. ๕.๑ พระมหากษัตริย์ทรงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช ตามมาตรา ๗ แห่งพระราชบัญญัติ
คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ (ฉบับที' ๒ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ และสมเด็จพระสังฆราชทรงพ้นจาก
ตำแหน่งเม'ือ ๑.สิน พระชนม์ ๒.พ้นจากความเป็นพระภิกษุ
๓.ทรงลาออก ๔.ทรงพระกรุณาโปรดให้ออก
๕.๒ เม'ือตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชว่างลง มีวิธีปฏิบัติดังนีใ ห้นายกรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบ
ของมหาเถรสมาคมนำช'ือสมเด็จพระราชคณะผู้มีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิขJ ึน ทูลเกล้าฯ เพ'ือ
ทรงสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราช
๖. ๖.๑ กำหนดพระอุปัชฌาย์ไว้ ๒ ประเภท คือ
๑.พระอุปัชฌาย์สามัญ ได้แก่ พระอุปัชฌาย์ท'ีได้รับแต่งตัง จากเจ้าคณะใหญ่
๒.พระอุปัชฌาย์วิสามัญ ได้แก่ พระอุปัชฌาย์ท'ีได้รับแต่งตัง จากสมเด็จพระสังฆราช
๖.๒ ผู้ปกครองสงฆ์ทุกระดับเรียกว่า “ พระสังฆาธิการ ” เรียกตามเขตปกครองนัน ๆ ว่า
เจ้าคณะ เช่น เจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำเภอ เจ้าคณะตำบล
๗. ๗.๑ ตัง อยู่ท'ีกรมการศาสนา อธิบดีกรมการศาสนาดำรงตำแหน่งเลขาธิการมหาเถรสมาคม
เมื'อพ้นจากตำแหน่งอธิบดีกรมการศาสนา ก็เป็นอันพ้นจากตำแหน่งเลขาธิการมหาเถร
สมาคม
๘. ๘.๑ ตามมาตรา ๒๑ แบ่งเขตการปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาคไว้ดังนี คือ
๑.ภาค ๒.จังหวัด ๓.อำเภอ ๔.ตำบล
ส่วนจำนวนและเขตปกครองดังกล่าวให้เป็นไปตามที'กำหนดในกฎมหาเถรสมาคม
๘.๒ เมื'อกระทำการล่วงละเมิดพระธรรมวินัย และนิคหกรรมที'จะลงโทษแก่ภิกษุจะต้องเป็น
นิคหกรรมตามพระธรรมวินัย ต้องสึกภายใน ๒๔ ชั'วโมง นับแต่เวลาที'ได้ทราบคำ
วินิจฉัยนัน
๙. ๙.๑ ภิกษุจะไม่สังกัดวัดใดวัดหนึ'งไม่ได้ ตามมาตรา ๒๗ (๓) แห่งพระราชบัญญัติคณะ
สงฆ์ ๒๕๐๕ (ฉบับที' ๒) พ.ศ.๒๕๓๕
๙.๒ กำหนดไว้ ๕ ชัน คือ
๑.เจ้าคณะใหญ่ ๒.เจ้าคณะภาค ๓.เจ้าคณะจังหวัด
๔.เจ้าคณะอำเภอ ๕.เจ้าคณะตำบล
๑๐. ๑๐.๑ กำหนดความผิดไว้ว่า เม'ือภิกษุรูปใดต้องด้วยกรณีข้อใดข้อหนง'ึ ดังต่อไปนี
๑.ต้องคำวินิจฉัยในมาตรา ๒๕ให้รับนิคหกรรมไม่ถึงให้สึก แต่ไม่ยอมรับนิคหกรรมนัน
๒.ประพฤติล่วงละเมิดพระธรรมวินัยเป็นอาจิณ
๓.ไม่สังกัดอยู่วัดใดวัดหนง'ึ
๔.ไม่มีวัดอยู่เป็นหลักแหล่ง
ให้ภิกษุนัน สละสมณเพศตามหลักเกณฑ์และวิธีการท'ีกำหนดในกฎมหาเถรสมาคม
พระภิกษุต้องคำวินิจฉัยให้สละสมณเพศตามวรรค ๒ ต้องสึกภายใน ๓ วัน นับตัง แต่ได้
ทราบคำวินิจฉัย
๑๐.๒ ไวยาวัจกร ได้แก่คฤหัสถ์ผู้ได้รับแต่งตัง ให้มีหน้าท'ีเบิกจ่ายนิตยภัต มีอำนาจหน้าท'ีดูแลรักษา
จัดการทรัพย์สินของวัด ตามที'เจ้าอาวาสมอบหมายเป็นหนังสือ
***************************
ปัญหาพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ น.ธ เอก
หมวดที ๕ - ๘
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*********************
๑. ๑.๑ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ (ฉบับที ๒ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ กำหนดให้วัดมีเท่า
ไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๑.๒ ที ดินที เป็นสมบัติของวัดมีเท่าไร ? บอกมาให้ครบ ? ๒๕๔๒
๒. ๒.๑ มาตรา ๔๐ อธิบายศาสนสมบัติกลางไว้เป็นอย่างไร ? ๒๕๔๒
๒.๒ ศาสนสมบัติของวัดคืออะไร ? ๒๕๔๒
๓. ๓.๑ เจ้าอาวาสตามความหมายในมาตรา ๓๑ มีหน้าที ตามมาตราไหน ความว่าอย่างไร ? ๒๕๓๙
๓.๒ การดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัตินั:นๆ ให้เป็นไปอย่างไร ? ๒๕๔๐
๔. ๔.๑ เจ้าอาวาสมีอำนาจตามมาตราไหน ความว่าอย่างไร ๒๕๓๙
๔.๒ ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส มีตราไว้ในมาตราไหน ความว่าอย่างไร ? ๒๕๓๙
๕. ๕.๑ ผู้เป็นปาราชิกแล้วถือเพศคฤหัสถ์ ปิดบังความจริงกลับมาบวชอีกก็ดี ผู้ต้องปาราชิกแล้ว
ยังแต่งกายอย่างเพศบรรพชิตก็ดี ตามกฎหมายจะต้องโทษอย่างไร ตามมาตราไหน ?๒๕๓๕
๕.๒ และในมาตรานั:นมีใจความว่าอย่างไร ? ๒๕๓๕
๖. ๖.๑ ปัจจุบันเราใช้พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับไหน ? ๒๕๓๔
๖.๒ และในฉบับนั:นมีมาตราไหนกำหนดโทษทั:งปรับทั:งจำ มีใจความว่าอย่างไร ?๒๕๓๔
๗. ๗.๑ ในกรณียุบยกเลิกวัด ทรัพย์สินของวัดนั:นจะพึงตกแก่ใคร ? ๒๕๔๓
๗.๒ เจ้าอาวาส ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท ี ๒๔ ใครเป็นผู้แต่งตั:ง ?๒๕๔๓
๘. ๘.๑ เจ้าพนักงาน ตามความในประมวลกฎหมายอาญา ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
ได้แก่ใคร ?๒๕๔๔
๘.๒ ศาสนสมบัติมีกี ประเภท ได้แก่ทรัพย์สมบัติเช่นไร ? ๒๕๔๑
๙. ๙.๑ พระราชบัญญัติท ีใช้อยู่ในปัจจุบัน มาตรา ๓๑ ความว่าอย่างไร ? ๒๕๓๙
๙.๒ ถ้าวัดจำเป็นต้องสู้คดีในศาล เม ือคดีถึงท ีสุดแล้ว ปรากฏว่าฝ่ ายวัดแพ้คดี คู่กรณีขอร้องให้
ศาลบังคับให้ขายทอดตลาดท ีวัดหรือท ีธรณีสงฆ์มาชำระหนี:จะได้หรือไม่ ให้ตอบอ้างหลัก
ฐานมาด้วย ? ๒๕๓๓
๑๐. ๑๐.๑เจ้าอาวาสจะโอนกรรมสิทธJิท ีธรณีสงฆ์ให้แก่บุคคลใดบุคคลหนึ งได้หรือไม่ เพราะเหตุไร ? ๒๖
๑๐.๒ในกรณียุบเลิกวัด ทรัพย์สินของวัดท ีถูกยุบเลิกนั:น จะพึงตกได้แก่ใคร และควรแบ่งกันอย่างไร
ให้ตอบอ้างหลัก ? ๒๕๑๑
เฉลยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ น.ธ เอก
หมวดที ๕ - ๘
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*************************
๑. ๑.๑. วัดมี ๒ อย่าง คือ
๑.วัดที ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ๒. สำนักสงฆ์
๑.๒. ที ดินที เป็นของวัดมี ๓ ประเภท คือ
๑.ท ีวัด คือท ีซึ งตั)งวัด ตลอดจนเขตของวัดนั)น
๒.ท ีธรณีสงฆ์ คือท ีซึ งเป็นสมบัติของวัด
๓.ท ีกัลปนา คือท ีซึ งมีผู้อุทิศแต่ผลประโยชน์ให้วัดหรือพระศาสนา
๒. ๒.๑. ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ ทรัพย์สินของพระศาสนาซึ งมิใช่ของวัดใดวัดหนึ ง
๒.๒. ศาสนสมบัติของวัด ได้แก่ ทรัพย์สินของวัดใดวัดหนึ ง
๓. ๓.๑. เจ้าอาวาสมีหน้าที ตามมาตรา ๓๗ ความว่า
๑.บำรุงรักษาวัด จัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดี
๒.ปกครองสอดส่องให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ท ีมีอยู่ในวัด หรือพำนักอาศัยวัดนั)น
ปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบหรือคำสั ง
ของมหาเถรสมาคม
๓.เป็นธุระในการศึกษาอบรมและสั งสอนพระธรรมวินัยแก่บรรพชิตและคฤหัสถ์
๔.ให้ความสะดวกตามสมควรในการบำเพ็ญกุศล
๓.๒. ให้เป็นไปอย่างนี)คือ
๑.ศาสนสมบัติกลาง ให้เป็นอำนาจหน้าท ีของการศาสนา เพ ือการนี)ให้ถือว่ากรมการ
ศาสนาเป็นเจ้าของศาสนสมบัติกลางนั)นด้วย
๒.ศาสนสมบัติของวัด ให้เป็นไปตามวิธีการที กำหนดในกฎกระทรวง
๔. ๔.๑. เจ้าอาวาสมีอำนาจตามมาตรา ๓๘ ความว่า
๑.ห้ามบรรพชิตและคฤหัสถ์ ซึ งมิได้รับอนุญาตของเจ้าอาวาสเข้าไปอยู่อาศัยในวัด
๒.สั งบรรพชิตและคฤหัสถ์ ซึ งไม่อยู่ในโอวาทของเจ้าอาวาสออกไปเสียจากวัด
๓.สั งให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ท ีมีท ีอยู่หรือพำนักอาศัยอยู่ในวัด ทำงานภายในวัดหรือ
ให้ทำทัณฑ์บน หรือให้ขอขมาโทษ ในเม ือบรรพชิตหรือคฤหัสถ์ในวัดนั)นประพฤติ
ผิดคำสัง เจ้าอาวาส ซึ งได้รับสั งโดยชอบด้วยพระธรรมวินัย กฎมหาเถรสมาคมข้อ
บังคับระเบียบ หรือคำสั งของมหาเถรสมาคม
๔.๒. ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส มีตราไว้ในมาตรา ๓๙ ความว่า
ในกรณีที ไม่มีเจ้าอาวาส หรือเจ้าอาวาสไม่อาจปฏิบัติหน้าท ีได้ ให้แต่งตั)งผู้รักษาการแทน
เจ้าอาวาส ให้ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสมีอำนาจและหน้าท ีเช่นเดียวกับเจ้าอาวาส การแต่งตั)ง
รักษาการแทนเจ้าอาวาส ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที กำหนดไว้ในกฎมหาเถรสมาคม
๕. ๕.๑. ทั)ง ๒ ประเภท จะต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๖ เดือน ตามมาตรา ๔๓
๕.๒. มีใจความว่า
๑.ผู้ใดหมดสิทธCิจะได้รับบรรพชาอุปสมบทโดยต้องปาราชิกมาแล้ว แต่มารับบรรพชา
อุปสมบทโดยปิดบังความจริง
๒.ต้องปาราชิกแล้วไม่ละการแต่งกายเพศบรรพชิตต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน ๖ เดือน
๖. ๖.๑. ฉบับ พ.ศ. ๒๕๐๕ และฉบับที ๒ พ. ศ. ๒๕๓๕
๖.๒. มาตรา ๔๔ มีใจความว่า ผู้ใดใส่ความคณะสงฆ์ไทยอันก่อให้เกิดความเสื อมเสียหรือ
ความแตกแยก ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือจำคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือ
ทั)งปรับทั)งจำ
๗. ๗.๑. ให้ตกเป็นของศาสนสมบัติกลาง จะแบ่งให้ใครไม่ได้ (มาตรา ๓๒ วรรค ๒ แห่งพระ
ราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ (ฉบับที ๒ พ.ศ. ๒๕๓๕)
๗.๒. สมเด็จพระสังฆราช ทรงแต่งตั)งเจ้าอาวาสพระอารามหลวง เจ้าคณะจังหวัดแต่งตั)งเจ้า
อาวาสวัดราษฎร์
๘. ๘.๑. ได้แก่พระภิกษุซึ งได้รับแต่งตั)งให้ดำรงตำแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์และไวยาวัจกร
เป็นเจ้าพนักงานตามความในประมวลกฏหมายอาญา (มาตรา ๔๕)
๘.๒ ศาสนสมบัติมี ๒ ประเภท คือ
๑.ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ทรัพย์สินของพระศาสนา ซึ งมิใช่ของวัดใดวัดหนึ ง
๒.ศาสนสมบัติของวัด ได้แก่ ทรัพย์สินของวัดใดวัดหนึ ง
๙. ๙.๑ มาตรา ๓๑ มีความว่า “วัดมี ๒ อย่างคือ
๑.วัดที ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ๒.สำนักสงฆ์
ให้วัดมีฐานะเป็นนิติบุคคล เจ้าอาวาสเป็นผู้แทนของวัดในกิจการทัว ไป” ฯ
๙.๒ ไม่ได้. เพราะพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๕๐๕ มาตรา ๓๕ บัญญัติไว้ว่า
ท ีวัดและท ีธรณีสงฆ์ เป็นทรัพย์สิ)นซึ งไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ฯ
๑๐. ๑๐.๑ ไม่ได้, เพราะการโอนกรรมาสิทธCิท ีธรณีสงฆ์ จะทำได้โดยพระราชบัญญัติเท่านั)น ฯ
๑๐.๒ ในกรณียุบเลิกวัด ทรัพย์สินของวัดท ีถูกยุบเลิกนั)น ให้ตกเป็นศาสนสมบัติกลางจะแบ่ง
ให้ใครไม่ได้ อ้างหลักมาตรา ๓๒ วรรค ๒ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ฯ