วันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2558

อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ปัญหาธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั นเอก

ปัญหาธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั นเอก
ปรมัตถปฏิปทา
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************
๑. ๑.๑. นิพพิทาคืออะไร ? ๒๕๔๓
๑.๒. ปฏิปทาเคร ืองดำเนินให้ถึงนิพพิทานั!นอย่างไร ? ๒๕๔๓
๒. ๒.๑. บุคคลจะสำรวมจิตอย่างไรบ้าง จึงจะพ้นบ่วงแห่งมาร ? ๒๕๔๑
๒๒. ในอุทเทสแห่งนิพพิทา ที ว่า ผู้รู้หาข้องอยู่ไม่ อะไรคือเครื องข้อง ? ๒๕๔๑
๓. ๓.๑. สังขาร ในอธิบายแห่งปฏิปทาแห่งนิพพิทา ได้แก่อะไร ? ๒๕๔๐
๓.๒. จะพึงกำหนดรู้สังขารนั!นโดยความเป็นอนัตตา ด้วยอาการอย่างไร ? ๒๕๔๐
๔. ๔.๑. อนิจฺจํ ความไม่เที ยง และนิจฺจํ ความเที ยง ปรากฏที ไหน ? ๒๕๓๙
๔.๒. อนิจจลักษณะ ได้ในพระบาลีและแปลว่าอย่างไร ? ๒๕๓๙
๕. ๕.๑. นิโรธศัพท์เป็นกิริยาสามัญหมายเอาอะไร เหมือนนิโรธในบาลีไหน ? ๒๕๓๙
๕.๒. นิโรธศัพท์ ในอัคคัปปสาทสูตร หมายเอาดับอะไร เหมือนนิโรธในบาลีไหน ? ๒๕๓๙
๖. ๖.๑. ความเมา ในบาลีว่า มทนิมฺมทโน หมายเอาอะไร ? ๒๕๓๘
๖.๒. วัฏฏะในบาลีว่า วฏฺฏูปจฺเฉโท หมายเอาอะไร ? (ตอบเฉพาะในภพเดียว) ๒๕๓๘
๗. ๗.๑. วิมุตติในบาลีกับในอรรถกถา แสดงต่างกันอย่างไร ? ๒๕๔๒
๗.๒. วิมุตติในบาลีมีอธิบายอย่างไร ? ๒๕๔๒
๘. ๘.๑. การพิจารณาแลเห็นสังขารโดยไตรลักษณ์ จัดเป็นวิสุทธิอะไร ? ๒๕๔๔
๘.๒. จงจัดวิสุทธิ ๗ ลงในไตรสิกขา ? ๒๕๔๔
๙. ๙.๑. สันติแปลว่าอะไร มีปฏิปทาที จะดำเนินอย่างไร ? ๒๕๔๓
๙.๒. สันติเป็นโลกิยะ หรือโลกุตตระ ? ๒๕๔๓
๑๐. ๑๐.๑. นิพพานมีกี อย่าง ต่างกันอย่างไร ? ๒๕๓๘
๑๐.๒. จะปฏิบัติอย่างไรจะให้ใกล้พระนิพพาน ? ๒๕๓๘
******************
เฉลยธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั นเอก
ปรมัตถปฏิปทา
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************
๑. ๑.๑. นิพพิทา คือความหน่ายในทุกข์ฯ
๑.๒. อย่างนี!คือ พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั!งหลายทั!งปวงไม่เท ียงเป็นทุกข์ ธรรมทั!งหลายทั!ง
ปวงเป็นอนัตตา ย่อมเกิดนิพพิทา เบ ือหน่ายในทุกขขันธ์ ไม่เพลิดเพลินยึดมัน หมกมุ่นอยู่ในสังขาร
อันยั วยวนเสน่หา
๒. ๒.๑. ๑. สำรวมอินทรีย์ มิให้ความยินดีและความยินร้ายครอบงำในเมื อเห็นรูปเป็นต้น
๒. มนสิการกัมมัฏฐาน อันเป็นปฏิปักษ์ต่อกามฉันท์ คือ อสุภะ กายคตาสติ หรือมรณัสสติ ใน
เมื อเห็นรูปเป็นต้น
๓. เจริญวิปัสสนา สันนิษฐานเห็นเป็นสภาพไม่เที ยงเป็นทุกข์ เป็นอนัตตา
๒.๒. ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทิฏฐิ ทั!ง ๕ นี! เป็นเคร ืองข้อง ฯ
๓. ๓.๑. ได้แก่สภาพอันธรรมดาแต่งขึ!น โดยตรงได้แก่เบญจขันธ์ คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
คุมกันเข้าเป็นกายกับใจ
๓.๒. พึงกำหนดรู้สังขารนั!น โดยความเป็นอนัตตาด้วยอาการเหล่านี! คือ
๑. ด้วยไม่อยู่ในอำนาจ หรือด้วยฝืนความปรารถนา
๒. ด้วยแย้งต่ออัตตา
๓. ด้วยความเป็นสภาพหาเจ้าของมิได้
๔. ด้วยความเป็นสภาพสูญหายไป
๕. ด้วยความเป็นสภาวธรรมเป็นไปตามเหตุปัจจัย
๔. ๔.๑. อนิจจัง ปรากฏที สังขาร คือนาม-รูปที ปัจจัยปรุงแต่ง นิจจังปรากฏที วิสังขาร คือนิพพานธรรมชาติ
ที ปัจจัยไม่ปรุงแต่ง
๔.๒. ได้ในพระบาลีว่า อุปฺปชฺชติ เจว เวติ จ อIฺญถา จ ภวติ ย่อมเกิดขึ!นด้วย ย่อมเส ือมสิ!นด้วย ย่อมเป็น
อย่างอื นด้วย ฯ
๕. ๕.๑. เป็นกิริยาสามัญ หมายเอาความดับแห่งธรรมที มีเหตุเป็นแดนเกิด ได้ในบาลีว่า เตสIฺจ โย นิโรโธ
จ ฯ และ ยงฺกิIฺจิ สมุทยธมฺมํ สพฺพนฺตํ นิโรธธมฺมํ ฯ
๕.๒. หมายเอาดับทุกข์อันเนื องมาจากตัญหา ฯ เหมือนในบาลีนิเทศแห่งทุกนิโรธ อริยสัจฯ
๖. ๖.๑. หมายเอา ความเมาในอารมณ์ ยัว ยวนให้เกิดความเมาทุกประการ เมาในสมบัติแห่งชาติ สกุล
อิสริยะและบริวาร เมาในลาภ ยศ สรรเสริญ สุข เมาในเยาว์วัย ในความไม่มีโรค และในชีวิต
๖.๒. หมายเอา ความเวียนด้วยอำนาจกิเลศ กรรม และวิบาก เฉพาะภพเดียว กิเลสเป็นปัจจัยให้ทำกรรม
กรรมย่อมอำนวยวิบากดีหรือชัว เสวยวิบากแล้วกิเลสย่อมเกิดอีก
๗. ๗.๑. ต่างกันดังนี! ในบาลีแสดงวิมุตติไว้ ๒ อย่าง คือเจโตวิมุตติ ๑ ปัญญาวิมุตติ ๑ ส่วนในอรรถกถา
แสดงวิมุตติไว้ ๕ อย่าง คือตทังควิมุตติ ๑ วิกขัมภวิมุตติ ๑ สมุจเฉทวิมุตติ ๑ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ ๑
นิสสรณวิมุตติ๑
๗.๒. มีอธิบายว่า เจโตวิมุตติ ได้แก่ปฏิปทาแห่งพระอรหันต์ผู้สำเร็จอริยมรรคด้วยบำเพ็ญ สมถภาวนา
และวิปัสสนาภาวนาโดยลำดับ ปัญญาวิมุตติ ได้แก่ปฏิปทาแห่งพระอรหันต์ผู้สำเร็จอริยมรรค ด้วย
ลำพังเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว
๘. ๘.๑. จัดเป็นทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งความเห็น ฯ
๘.๒. ๑) สีลวิสุทธิ จัดเป็นศีล
๒) จิตตวิสุทธิ จัดเป็นสมาธิ
๓) ทิฏฐิวิสุทธิ กังขาวิตรณวิสุทธิ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ญาณทัส
สนวิสุทธิ จัดเป็นปัญญา
๙. ๙.๑. สันติแปลว่า ความสงบ มีปฏิปทาที จะดำเนินคือปฏิบัติสงบกาย วาจา ใจ จากโทษเวรภัย
ละโลกามิส คือเบญจกามคุณ มีสันติเป็นวิหารธรรม
๙.๒. สันติเป็นได้ทั!งโลกิยะ และโลกุตตระ
๑๐. ๑๐.๑. นิพพานมี ๒ อย่าง คือ สอุปาทิเสสนิพพาน ๑ อนุปาทิเสสนิพพาน ๑ สอุปาทิเสสนิพพาน หมายเอา
อาการดับกิเลส แต่ขันธ์ยังทรงอยู่ อนุปาทิเสสนิพพาน หมายเอาอาการดับขันธ์ของท่านผู้ปราศจาก
กิเลส
๑๐.๒. ปฏิบัติตามพระพุทธภาษิตว่า “ภิกษุผู้ยินดี ไม่ประมาทแล้ว หรือเห็นภัยในความไม่ประมาทโดย
ปกติ ย่อมเป็นผู้ไม่พอเพื อเสื อมรอบ ย่อมปฏิบัติใกล้พระนิพพานเทียว”
******************

ปัญหาธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั นเอก
ส่วนสังสารวัฏ
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
************************
๑. ๑.๑ ในส่วนสังสารวัฏ สัตวโลกตายแล้วมีคติเป็นอย่างไร ? ๒๕๔๔
๑.๒ ในข้อ ๑.๑ นั!นมีอุทเทสบาลีแสดงไว้อย่างไร ? ๒๕๔๔
๒. ๒.๑ สวรรค์ชั!นท(ีเท่าไร และมีช(ือว่าอะไร เป็นท(ีอยู่ของพระโพธิสัตว์ และนัก
สร้างบารมีทั!งหลาย ?
๒.๒ ทุคติส่วนมากมีเท่าไร บอกมาให้ครบ ? ๒๕๔๑
๓. ๓.๑ สังสารวัฏได้แก่อะไร มีอะไรเป็นเบื!องต้น ท่ามกลาง และท(ีสุด ? ๒๕๓๘
๓.๒ อุทเทสว่า “เมื อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้” ก็
สุคตินั!นคืออะไร มีประเภทอย่างไรบ้าง ? ๒๕๒๔
๔. ๔.๑ พระอรรถกถาจารย์ อธิบายคำว่า ทุคติ วินิบาต และอบายไว้อย่างไร
จงแสดง ? ๒๕๐๑
๔.๒ อุปกิเลส มีอยู่ก(ีข้อ จงเขียนมาสัก ๕ ข้อ ?
๕. ๕.๑ อบาย แปลว่าอะไร ?
๕.๒ ในอรรถกถา แจกไว้กี(อย่าง มีอะไรบ้าง ?
๖. ๖.๑ สวรรค์แปลว่าอะไร มีก(ีชั!น ?
๖.๒ สวรรค์แต่ละชั!นช(ือว่าอะไรบ้าง ?
๗ ๗.๑ สวรรค์ชั!นแรกมีใครเป็นผู้ปกครอง ?
๗.๒ ผู้ปกครองแต่ละทิศชื(อว่าอะไรบ้าง ?
๘. ๘.๑ มหานรก แปลว่าอะไร มีทั!งหมดก(ีขุม แต่ละขุมช(ือว่าอะไร ?
๘.๒ เปรตที(กล่าวไว้ในปกรณ์ต่างๆ มีกี(ชนิดอะไรบ้าง ?
๙. ๙.๑ นรกขุมที( ๑ นายนิรยบาลมีวิธีการลงโทษสัตว์นรกอย่างไร ?
๙.๒ ทำกรรมอะไรไว้ในสมัยเป็นมนุษย์จึงไปบังเกิดในนรกขุมที( ๑ ?
๑๐. ๑๐.๑ ในพาลบัณฑิตสูตร มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ แสดงสัตว์ดิรัจฉานไว้
๕ ประเภท มีอะไรบ้าง ?
๑๐.๒ นรกขุมท(ี ๘ ช(ือว่าอะไร ทำกรรมอะไรไว้จึงไปบังเกิดในท(ีนั!น ?
เฉลยธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั นเอก
ส่วนสังสารวัฏ
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
************************
๑. ๑.๑ สัตว์โลกตายแล้วมีคติเป็น ๒ คือสุคติและทุคติ
๑.๒ มีอุทเทสบาลีแสดงว่า
จิตฺเต สงฺกิลิฏเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา จิตฺเต อสงฺกิลิฏเฐ สุคฺคติ ปาฏิกงฺขา
เมื'อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็นอันต้องหวัง เมื'อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็นอันหวังได้
๒. ๒.๑ สวรรค์ชั-นท'ี ๔ ช'ือว่าดุสิต เป็นท'ีอยู่ของพระโพธิสัตว์และนักสร้างบารมีทั-งหลาย
๒.๒ ทุคติ ส่วนมากมี ๔ คือ อบาย ทุคติ วินิบาต นิรยะ
๓. ๓.๑ สังสารวัฏได้แก่ความหมุนเวียนไปด้วยอำนาจกิเลส กรรม วิบาก มีอวิชชาเป็นเบื-องต้น มี
ทุกข์ คือ ชาติ ชรา พยาธิ มรณะเป็นท่ามกลาง มีพระนิพพานเป็นที'สุด
๓.๒ สุคติ คือภูมิเป็นที'ไปข้างดี มีประเภทเป็น ๒ ในบางสูตรโดยมากเรียกว่า สุคติ๑ โลก
สวรรค์๑
๔. ๔.๑ พระอรรถกถาท่านอธิบายไว้ว่า ทุคติ วินิบาต ได้แก่อสุรกาย อบายได้แก่ติรัจฉานโยนิ
๔.๒ อุปกิเลสมีอยู่ ๑๖ ข้อ คือ
๑.อภิชฌาวิสมโลภะ ความอยากไม่สมํ'าเสมอ ๒.โทสะ ความร้ายกาจ
๓.โกธะ ความโกรธ ๔.อุปนาหะ ผูกโกรธไว้
๕.มักขะ ลบหลู่คุณท่าน ๖.ปลาสะ ตีเสมอท่าน
๗.อิสสา ความริษยา ๘.มัฉริยะ ความตระหนี'
๙.มายา มารยาคือเจ้าเล่ห์ ๑๐.สาเถยยะ โอ้อวด
๑๑.ถัมภะ หัวดื-อ ๑๒.สารัมภะ แข่งดี
๑๓.มานะ ถือตัว ๑๔.อติมานะ ดูหมิ'นท่าน
๑๕.มทะ มัวเมา ๑๖.ปมาทะ เล่นล่อ
๕. ๕.๑ อบายแปลว่า โลกที'ปราศจาความเจริญ
๕.๒ ในอรรพกถาแจกเป็น ๔ อย่างคือ นิรยะ๑ ดิรัจฉานโยนิ๑ ปิตติวิสยะ๑ อสุรกายคือ
จำพวกยักษ์ ที'เรียกว่าอสูร
๖. ๖.๑ สวรรค์ แปลว่า โลกเป็นท'ีไปดี หรือโลกท'ีมีอารมณ์ดี หมายเอาเทวโลกชั-นตํ'าท'ีเป็น
กามาวจรมีทั-งหมด ๖ ชั-นด้วยกัน
๖.๒ ๑.ชั-นจาตุมหาราช ๒.ชั-นดาวดึงส์
๓.ชั-นยามา ๔.ชั-นดุสิต
๕.ชั-นนิมมานรดี ๖.ชั-นปรนิมมิตสวัตตี
๗. ๗.๑ สวรรค์ชั-นแรกมีท้าวจตุโลกบาล หรือท้าวมหาราชทั-ง ๔ เป็นผู้ปกครอง
๗.๒ ท้าวธตรฐมหาราช ปกครองทิศตะวันออก
ท้าววิรุฬหกมหาราช ปกครองทิศใต้
ท้าววิรูปักข์มหาราช ปกครองตะวันตก
ท้าวกุเวรมหาราช ปกครองเหนือ
๘. ๘.๑ มหานรกแปลว่านรกใหญ่ ได้แก่ดินแดนท'ีปราศจากความเจริญมี ทั-งหมด ๘ ขุม คือ
๑.สัญชีวมหานรก ๒.กาฬสุตตมหานรก ๓.สังฆาตมหานรก
๔.โรรุวมหานรก ๕.มหาโรรุวมหานรก ๖.ตาปมหานรก
๗.มหาตาปมหานรก ๘.อเวจีมหานรก
๘.๒ เปรตที'กล่าวถึงในกรณ์ต่างๆ เมื'อประมวลกล่าวแล้วก็ได้ ๔ ชนิดคือ
๑.ชนิดรูปร่างไม่สมประกอบ ซุบผอมอดโซ
๒.ชนิดรูปร่างพิการ เช่น กายเป็นอย่างของมนุษย์แต่ศีรษะเป็นอย่างสัตว์ดิรัจฉาน
เช่น เป็นกาบ้าง เป็นสุกรบ้าง เป็นงูบ้าง
๓.ชนิดรูปร่างพิกล เสวยกรรอยู่ตามลำพัง ด้วยอำนาจบาปกรรม
๔.ชนิดรูปร่างเหมือนมนุษย์ปกติ แม้เป็นผู้ต้องเสวยกรรมก็มี วิมานอยู่แต่เวลา
กลางคืนต้องออกจากวิมานไปเสวยกรรมจนกว่าจะรุ่ง เรียกว่า เวมานิกเปรต
๙. ๙.๑ สัญชีวมหานรก ในนรกนี-มีนายนิรยบาล ถือศัตราวุธต่างๆ เช่น มีด พร้า ขวาน
อันคมกริบ เป็นต้น คอยสับฟันนิ'มแทงทุบตีแล่เนื-อเถือหนังสัตว์สัตว์นรก ทำให้เหลือแต่
กระดูก เหมือนคนถากเปลือกไม้เหลือแต่แก่นไว้ให้ได้รับทุกขเวทนาหนัก
๙.๒ บาป หรือ อกุศลกรรมท'ีสัตว์นรกเหล่านั-นกระทำไว้ เม'ือครั-งเป็นมนุษย์คือ ได้ฆ่าสัตว์
ทรมานสัตว์ให้ได้รับทุกขเวทนา ด้วยตนเองบ้าง ให้คนอื'นทำแทนตนเองบ้าง บางคนเป็น
เจ้านาย ข้าราชการ เจ้าพนักงาน ขาดความยุติธรรม ไม่มีศีลธรรมชอบกดขี'ข่มเหงชาวบ้าน
ชอบรุกรานเอาที'บ้านเรือน ไร่นา ตลอดจนที'วัด ทำให้คนอื'นได้รับทุกข์ทรมาน
๑๐. ๑๐.๑ ในพาลบัณฑิลสูตรแห่งมัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ ได้แสดงสัตว์ดิรัจฉานไว้ ๕ ประเภท
คือ ๑.ติณภักขา จำพวกมีหญ้าเป็นอาหารมี ม้า โค ลา แพะ เป็นต้น่
๒.คูถภักขา จำพวกมีคูถเป็นอาหาร มี ไก่ สุกร สุนัข เป็นต้น
๓.จำพวกเกิด แก่ ตายในท'ีมืด มีตักJ แตน บุ้ง ไส้เดือน เป็นต้น
๔.จำพวกเกิด แก่ ตาย ในน-ำมี ปลา เต่า เป็นต้น
๕.จำพวกเกิด แก่ ตายในของโสโครก มีหนอน เป็นต้น
๑๐.๒. นรกขุมท'ี ๘ ช'ือว่าอเวจีนรก เม'ือเป็นมนุษย์อยู่นั-น ได้ทำอกุศลกรรมไว้มาก คือ ได้ทำ
อนันตริยกรรม ๕ อย่าง คือ ฆ่าบิดา ฆ่ามารดา ฆ่าพระอรหันต์ ทำร้ายพระพุทธเจ้าจนทำให้
พระโลหิตห้อและยุยงให้สงฆ์แตกกันเหล่านี- อย่างใดอย่างหนึ'ง บางพวกทำบาปมีด'ืมสุรา
และเมรัยเป็นต้น เป็นอาจิณ บางพวกประทุษร้ายต่อท่านผู้มีศีล สมาธิ ปัญญา ประทุษร้ายต่อ
พระอริยบุคคลเป็นคนมีมิจฉาทิฏฐิเป็นต้นจึงส่งผลให้บังเกิดในอเวจีมหานรก

ปัญหาธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั นเอก
สมถกัมมัฏฐาน
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*********************
๑. ๑.๑ คนโทสจริต มีอุปนิสัยเป็นอย่างไร จะแก้ด้วยการเจริญกัมมัฏฐานบทใด ? ๒๕๔๔
๑.๒ การท)ีท่านสอนให้เจริญเมตตาในตนก่อนแล้ว จึงแผ่ไปในชนอ)ืนนัน0 มีเหตุ
ผลอย่างไร ? ๒๕๔๔
๒. ๒.๑ สมถภาวนา เป็นอุบายสงบระงับจิตอย่างไร ? ๒๕๔๓
๒.๒ คนที)มีจิตมักลืมหลง สติไม่มั)นคงควรเจริญกัมมัฏฐานบทใด ? ๒๕๔๓
๓. ๓.๑ ผู้จะเจริญภายคตาสติกัมมัฏฐานพึงกำหนดอะไร ? ๒๕๔๓
๓.๒ เพราะเหตุใด ตจปัญจกัมมัฏฐาน ท่านจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน ? ๒๕๔๓
๔. ๔.๑ ส)ิงท)ีคำ0 จุนกายให้สำเร็จกิจ มีสน)ั ไหว ลุก ยืนนง)ั นอนเป็ นต้น จัดเป็ น
ธาตุอะไร ?๒๕๔๒
๔.๒ ส)ิงนัน0 มีอาการอย่างไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๕. ๕.๑ พรหมวิหารทัง0 ๔เม)ือเจริญภาวนาถึงท)ีแล้ว มีอานุภาพอำนวยผลเหมือนกัน
หรือต่างกันอย่างไร ? ๒๕๔๒
๕.๒ กรรมฐานอะไรบ้าง ท)ีทำให้ผู้ปฏิบัติสำเร็จแต่เพียงอุปจารภาวนาเท่านัน0 ?๒๕๔๒
๖. ๖.๑ คนมีราคจริต ควรที)ภาวนาอารมณ์ กัมมัฏฐานอะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๖.๒ พระอริยบุคคลทรงไว้ซึ)งคุณธรรมอะไรบ้าง จึงชื)อว่าถือเอาแก่นสารคุณอัน
ประเสริฐแห่งกายนี 0? ๒๕๔๑
๗. ๗.๑ ปฐมฌานมีองค์ ๕ คืออะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๗.๒ เหตุใดสมาธิในกายคตาสติ จึงเป็นแต่เพียงอุปจาร ? ๒๕๔๑
๘. ๘.๑ พุทธานุสสติ จตุธาตุววัตถาน กายคตาสติ เมตตา กสิณ กัมมัฏฐาน
ทัง0 ๕ ข้อนี 0 เป็นคู่ปรับกับนิวรณ์ ๕ ข้อใดบ้าง จงบอกมดู ? ๒๕๔๐
๘.๒ วรรณกสิน มีกี)อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๔๐
๙. ๙.๑ เจริญมรณัสสติอย่างไร จึงจะแยบคาย ? ๒๕๔๓
๙.๒ สมถะ กับ วิปัสสนา ให้ผลต่างกันอย่างไร ? ๒๕๔๓
๑๐. ๑๐.๑ ในนวสีวถิกาบรรพ เมื)อสรีระตายไปแล้ว ๒-๓ วัน พึงพิจารณาอย่างไร ? ๒๕๔๒
๑๐.๒. สมาบัติในพระพุทธศาสนาว่าโดยประเภทเป็น ๒ อย่าง คืออะไร เกิดแก่
บุคคลใดได้บ้าง ? ๒๕๔๑
--------------------------------------------------
เฉลยธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั นเอก
สมถกัมมัฏฐาน
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*******************************
๑. ๑.๑ คนที)มีจิตมักฉุนเฉียวโกรธง่ายๆ สันดานหนักไปในโทสะ มักก่อทุกโทมนัส
ให้แก่คนอื)นจัดเป็นคนโทสจริต มีโทสะเป็นเครื)องประพฤติเป็นปกติของตัว
ควรเจริญกัมมัฏฐาน ๘ ประการ คือวัณณกสิณ ๔ กับพรหมวิหาร ๘
๑.๒ มีเหตุผลดังนี 0 คือ จะได้ทำตนให้เป็นพยานว่า ตนนีอ0 ยากได้แต่ความสุข
เกลียดความทุกข์ และภัยต่างๆฉันใด สัตว์ทัง0 หลายอ)ืนๆ ก็อยากได้สุข
เกลียดชังทุกข์ และภัยต่างๆ ฉันนัน0 เม)ือเห็นดังนีแ0 ล้วจิตก็ปรารถนาให้สัตว์
ทัง0 สิน0 มีความสุขความเจริญ
๒. ๒.๑ สมถภาวนา เป็ นอุบายเคร)ืองสำรวมปิดกัน0 นิวรณ์อุปกิเลส มิให้เกิดครองำ
จิตสันดานได้ ดังบุคคลปิดทำนบกัน0 นำ0 ไว้มิให้ไหลฉะนัน0 และเป็ นอุบาย
ข่มข)ีสะกดจิตไว้มิให้ดิน0 รนฟุ้งซ่านดังนายสารถีฝึ กม้าให้เรียบร้อย ควรเป็น
ราชพาหนะได้ฉะนัน0
๒.๒ ควรเจริญอานาปานัสสติ เพราะอานาปานัสสติกัมมัฏฐานนีเ0ป็นท)ีสบาย
ของคนที)เป็นโมหจริต
๓. ๓.๑พึงกำหนดพิจารณากายเป็นท)ีปะชุมแห่งส่วนน่าเกลียดข้างบนตัง0 แต่พืน0 เท้า
ขึน0 มา ข้างล่างตัง0 แต่ปลายผมลงไป มีหนังหุ้มอยู่โดยชอบ ให้เห็นว่าเต็ม
ไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ
๓.๒ ท)ีเรียกว่ามูลกัมมัฏฐานนัน0 เพราะเป็นกัมมัฏฐานเดิมท)ีกุลบุตรผู้มบรรพชา
ย่อมได้รับสอนกัมมัฏฐานนีไ0 ว้ก่อนจากอุปัชฌาย์ เหมือนดังได้รับมอบศัสตราวุธ
ไว้สำหรับต่อสู้ข้าศึก คือกามฉันท์อันจะทำอันตรายแก่พรหมจรรย์
๔. ๔.๑ จัดเป็นธาตุลม
๔.๒ มีอาการ ๖ คือ ลมพัดขึน0 เบือ0 งบน ๑ ลมพัดลงเบือ0 งต)ำ ๑ ลมพัดอยู่ใน
ท้องนอกไส้ ๑ ลมพัดอยู่ในกายภายในไส้ใหญ่ ๑ ลมพัดทว)ั ไปในองคาพยพใหญ่
น้อย ๑ ลมหายใจเข้าหายใจออก ๑
๕. ๕.๑ ต่างกันคือ พรหมวิหาร ๓ ข้างต้น คือ เมตตา กรุณา มุทิตา มีอานุภาพ
ให้สำเร็จรูปฌานทัง0 ๔ ส่วนอุเบกขาภาวนามีพิเศษสำเร็จปัญจมฌานด้วย
๕.๒ กรรมฐานที)ให้สำเร็จแต่อุปจารภาวนา มี ๑๐ ประการ คือ พุทธานุสสติ
ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ สีลานุสสติ จาคานุสสติ เทวตานุสสติ อุปสมา
นุสสติ มรณัสสติ อาหารปฏิกูลสัญญา และจตุธาตุววัตถานะ
๖. ๖.๑ คนมีราคจริต ควรเจริญอารมณ์กัมมัฏฐาน ๑๑ อย่าง คือ อสุภะ ๑๐
และกายคตาสติ
๖.๒ พระอริยบุคคลทรงไว้ซึ)งคุณธรรม ๕ อย่าง คือ ศรัทธา ศีล จาคะ สุตะ
และปัญญา
๗. ๗.๑ ปฐมฌานมีองค์ ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตา
๗.๒ เพราะเป็นเหตุให้จิตท่องเท)ียวอยู่ ไม่แน่วแน่ลงแท้
๘. ๘.๑ พุทธานุสสติ เป็ นคู่ปรับกับ ถีนมิทธะ จตุธาตุววัตถาน เป็นคู่ปรับกับ
วิจิกิจฉา กายคตาสติ เป็นคู่ปรับกับกามฉันท์ เมตตา เป็ นคู่ปรับกับ
พยาบาท กสิณ เป็ นคู่ปรับกับอุจธัจจกุกกุจจะ
๘.๒ วรรณกสิณมี ๔ คือ ๑ โอทาตกสิณ สีขาว ๒. ปีตกสิณ สีเหลือง ๓. โลหิต
กสิณ สีแดง ๔. นีลกสิณ สีเขียว
๙. ๙.๑ เจริญพร้อมด้วยองค์ ๓ คือ สติ ระลึกถึงความตาย ๑ ญาณ รู้ว่าความ
ตามจักมีแก่ตน ๑ เกิดสลดสังเวชใจ ๑ เจริญอย่างนีจ0 ึงจะแยบคาย
๙.๒ สมถะ ให้ผลอย่างตํ)า ทำให้ระงับนิวรณ์บางอย่างได้ อย่างสูง ทำให้เข้าถึง
ฌานต่างๆได้ ส่วนวิปัสสนา ให้ผลอย่างตํ)า ทำให้ได้ปัญญาเห็นสัจธรรม
อย่างสูงทำให้ได้บรรลุอริยผล พ้นจากสังสารทุกข์
๑๐. ๑๐.๑พึงน้อมเข้ามาสู่กายนีว0 ่า แม้กายเรานีเ0ล่าก็มีเป็นอย่างนีธ0 รรมดา จักเป็น
อย่างนี 0จักไม่ล่วงความเป็นอย่างนีไ0 ปเลย
๑๐.๒ สมาบัติมี ๒ อย่าง คือ ผลสมาบัติ กับนิโรธสมาบัติ ผลสมาบัติย่อมทั)ว
ไปแก่พระอริยบุคคลท)ีได้ สมาบัติทัง0 สิน0 นิโรธสมาบัติมีเฉพาะแก่พระ
อนาคามีและพระอรหันต์ท)ีได้สมาบัติ ๘ เท่านัน0
---------------------------------

ปัญหาธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั นเอก
วิปัสสนากัมมัฏฐาน
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*********************
๑. ๑.๑ ผู้เจริญสติปัฏฐานต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๑.๒ ผู้เจริญสติปัฏฐานสมบูรณ์เต็มท%ีแล้ว จะได้รับอานิสงส์เช่นใด ? ๒๕๔๔
๒. ๒.๑ การพิจารณากองลมหายใจเข้าออก เพียงแต่รู้ว่าสัน2 ดังนี 2 จัดเป็นสติปัฏฐาน
ข้อไหน ?๒๕๔๔
๒.๒ ในธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน หัวข้อธรรมท%ีจะนำมาพิจารณานัน2 มีอะไร
บ้าง ? ๒๕๔๔
๓. ๓.๑ การบำเพ็ญปัญญาให้เกิดขึน2 ในจิตนัน2 ผู้เจริญวิปัสสนา พึงรู้ฐานะทัง2 ๖
ก่อนก็ฐานะทัง2 ๖ นัน2 คืออะไร ? ๒๕๔๒
๓.๒ เพราะเหตุไรผู้เจริญวิปัสสนา จึงต้องมีศีลและจิตบริสุทธิ:เป็นเบือ2 งต้น
ก่อน ? ๒๕๔๒
๔ ๔.๑ คิริมานนทสูตรใครแสดง ใครฟัง ใครได้ผลอะไร ? ๒๕๔๒
๔.๒ ปหานสัญญา สอนให้ละกิเลสข้อไหน ? ๒๕๔๒
๕. ๕.๑ วิปัสสนาญาณ มีอานิสงส์อย่างไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๕.๒ วิปัลลาส คือความเจ้าใจผิด มีกี%อย่าง บอกมาให้ครบ ๒๕๔๑
๖. ๖.๑ สิ%งที%เป็นรากเหง้าของวิปัสสนามีกี%อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๔๐
๖.๒ สิ%งที%จัดเป็นตัวของวิปัสสนามี%กี%อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๔๐
๗. ๗.๑ ฆนสัญญาคืออะไร ? ๒๕๔๐
๗.๒ พิจารณาอย่างไรจึงถอนเสียได้ซึ%งฆนสัญญา ? ๒๕๔๐
๘. ๘.๑ คิริมานนทสูตร ข้อ ๓ ใจความว่าอย่างไร ? ๒๕๔๐
๘.๒ คิริมานนทสูตร ข้อ ๔ ใจความว่าอย่างไร ? ๒๕๓๙
๙. ๙.๑ อะไรเป็นลักษณะของวิปัสสนา ? ๒๕๔๐
๙.๒ อะไรเป็นกิจเป็นคุณของวิปัสสนา ? ๒๕๔๐
๑๐. ๑๐.๑ วิปัลลาส กล่าวด้วยอำนาจจิตเจตสิกซึ%งวิปริตผิดไป มีกี%ประการ อะไร
บ้าง ?๒๕๔๒
๑๐.๒ ไตรลักษณ์ท%ีว่าเห็นได้โดยยากนัน2 เพราะเหตุไร ? ๒๕๔๒
-------------------------------
เฉลยธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั นเอก
วิปัสสนากัมมัฏฐาน
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
**********************
๑. ๑.๑ ต้องมีคุณสมบัติดังนี 2
๑.อาตาปี มีความเพียรแผดเผากิเลส
๒.สมปชาโน มีสัมปชัญญะ
๓.สติมา มีสติ
๑.๒ ได้รับอานิสงส์ ๕ ประการดังนี 2
๑.ได้ความบริสุทธิ:
๒.ได้ข้ามพ้นโลภะ และปริเทวะ
๓.ได้ความดับไปแห่งทุกข์และโทมนัส
๔.ได้บรรลุธรรมที%ถูก
๕.ได้ทำให้แจ้งพระนิพพาน
๒. ๒.๑ จัดเป็นกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน
๒.๒ มี นิวรณ์ ๕ อุปาทานขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ โพชฌงค์ ๗ และอริยสัจ ๔
๓. ๓.๑ ฐานะทัง2 ๖ คือ
๑.อนิจจะ ของไม่เที%ยง
๒.อนิจจลักษณะ เครื%องหมายที%จะให้กำหนดว่าไม่เที%ยง
๓.ทุกขะ ของที%สัตว์ทยาก
๔.ทุกขลักษณะ เครื%องหมายที%จะให้กำหนดว่าเป็นทุกข์
๕.อนัตตา สภาวะมิใช่ตัวมิใช่ตน
๖.อนัตตลักขณะ เคร%ืองหมายท%ีจะให้กำหนดรู้ว่าเป็นอนัตตา
๓.๒ เพราะถ้าเป็นผู้มีศีลไม่บริสุทธิ: ไม่ได้สมาธิ มีจิตฟุ้งซ่านแล้ว ก็เป็นอภัพพะไม่
ควรเจริญวิปัสสนานัน2 เลย เพราะศีลและสมาธิเป็นเหตุแรงกล้าให้เกิด
วิปัสสนา
๔. ๔.๑ เบือ2 งต้นพระศาสดาทรงแสดงให้พระอานนท์ฟัง ตอนหลังพระอานนท์
แสดงพระคิริมานนท์ฟัง ผลคือพระคิริมานนท์ หายจากอาพาธหนัก
๔.๒ ปหานสัญญา ให้ลดวิตก ฝ่ายไม่ดี ๓ ประการ
.
๕. ๕.๑ วิปัสสนาญาณมีอานิสงส์ คือ
๑.ย่อมทำให้มีสติมั%น ไม่หลงทำกาลกิริยา
๒.มีสุคติภพ คือมนุษย์โลกและสวรรค์เป็นท%ีไปเบือ2 งหน้า
๓.มีอุปนิสัยมรรค ผล นิพพาน ติดสันดานไปในภพหน้า
๔.ถ้ามีอุปนิสัยอยู่แล้ว ก็ทำให้บรรลุมรรคผล ทำให้แจ้งพระนิพพานในชาตินี 2
๕.๒ มี ๔ อย่างคือ
๑.เจ้าใจผิดในของที%ไม่เที%ยงว่าเที%ยง
๒.เจ้าใจผิดในของมีสภาพเป็นทุกข์ว่าเป็นสุข
๓.เจ้าใจผิดของที%มีสภาพเป็นอนัตตาว่าเป็นอัตตา
๔.เข้าใจผิดในของที%ไม่งามว่าเป็นของสวยงาม
๖. ๖.๑ รากเหง้าของวิปัสสนามี ๒ อย่าง คือ
๑.สีลวิสุทธิ ความบริสุทธิ:ของศีล
๒.จิตตวิสุทธิ ความบริสุทธิ:แห่งจิต
๖.๒ ตัววิปัสสนามี ๕ อย่าง คือ
๑.ทิฏฐิวิสุทธิ ๒.กังขาวิตรณวิสุทธิ
๓.มัคคามัคคญาณวิสุทธิ ๔.ปฏิปทาญาณวิสุทธิ
๕.ญาณวิสุทธิ
๗. ๗.๑ ฆนสัญญา คือ ความสำคัญ หมายว่าเป็นก้อน อันได้แก่ความยึดถือเอา
โดยนิมิตว่าเรา ว่าเขา ว่าผู้นัน2 ว่าผู้นี 2
๗.๒ พิจารณากำหนดเห็นสังขารกระจายเป็นส่วนย่อยๆ จากฆนะ คือ ก้อน
ย่อมเห็นว่าถอนเสียได้ซึ%งฆนสัญญา
๘ ๘.๑ ข้อท%ี ๓ มีใจความว่า ภิกษุในธรรมวินัยนี 2พิจารณากายนี 2 โดยใจควา
เป็นของไม่งาม
๘.๒ ข้อท%ี ๔ มีใจความว่า ภิกษุในธรรมวินัยนี 2 เข้าไปสู่ท%ีสงัด พิจารณาว่า
กายนีม2 ีทุกข์ โทษมาก ความไข้ต่างๆ เกิดจากกายนี 2 เช่นโรคใน ตา หู
จมูก ลิน2 กาย เป็นต้น
๙. ๙.๑ สภาพความเป็นเองของสังขาร คือเป็นของไม่เที%ยง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตาจริงอย่างไร ความรู้เห็นว่าสังขารเป็นของไม่เท%ียง เป็นทุกข์ เป็น
อนัตตาแจ้งชัดอันนีแ2 หละเป็นลักษณะของวิปัสสนา
.
๙.๒ มืดคือโมหะความหลงในสังขารว่าเป็นของเที%ยง เป็นสุข เป็นตัวตนอัน
ใด บิดบังปัญญาไว้ไม่ให้เห็นความเป็นจริงของสังขาร คือเป็นของไม่
เที%ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ขจัดมืดคือโมหะนัน2 เสีย ไม่หลงในสังขารว่า
เป็นของเท%ียง เป็นสุข เป็นตัวเป็นตน เป็นของงามเสียได้ นีเ2ป็นกิจเป็ น
คุณของวิปัสสนา
๑๐. ๑๐.๑ วิปัลลาสกล่าวด้วยอำนาจจิตเจตสิกซึ%งวิปริตผิดไป มี ๓ ประการ คือ
วิปัลลาสด้วยอำนาจเห็นผิด เรียกว่า สัญญาวิปัลลาส ๑
วิปัลลาสด้วยอำนาจคิดผิด เรียกว่า จิตตวิปัลลาส ๑
วิปัลลาสด้วยอำนาจเห็นผิด เรียกว่า ทิฏฐิวิปัลลาส ๑
๑๐.๒ ไตรลักษณ์ท%ีว่าเห็นได้ยากนัน2 เพราะมีเคร%ืองปกปิดไว้ไม่ให้เห็น คือ
สันตติความสืบต่อแห่งนามรูป ปกปิดอนิจจตา อิริยาบถ ความผลัด
เปลี%ยนแห่งอิริยาบถ ปกปิดทุกขตา ฆนสัญญา ความสำคัญเห็นเป็น
กลุ่มก้อน ปกปิดอนัตตา
*****************************














ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น