วันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2558

อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นตรี


ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นตรี
กัณฑ์ที ๑ – ๒
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*************************************
๑. ๑.๑ ผู้ท
ีจะอุปสมบทต้องพร้อมด้วยวัตถุสมบัติก
ีประการ อะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๑.๒ บุคคลเช่นไร เรียกว่า อุปัชฌาย์ ? ๒๕๔๑
๒. ๒.๑ อกรณียกิจคืออะไร มีกี
อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๒.๒ นิสสัยคืออะไร มีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๓. ๓.๑ สิกขากับสิกขาบท ต่างกันอย่างไร ? ๒๕๔๓
๓.๒ สิกขามีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๔. ๔.๑ การอุปสมบทมีกี
วิธี อะไรบ้าง ? ๒๕๔๐
๔.๒ การอุปสมบทแต่ละวิธี ใครเป็นผู้กระทำ ? ๒๕๔๐
๕. ๕.๑ การกสงฆ์แห่งกิจต่างๆ มี ๔ คืออะไรบ้าง ? ๒๕๓๙
๕.๑ ทำไมพระบรมศาสดาจึงทรงบัญญัติพระวินัยไว้ ? ๒๕๓๗
๖. ๖.๑ คำว่า ต้องอาบัติ หมายความว่าอย่างไร ? ๒๕๔๔
๖.๒ อาบัติมีโทษกี
สถาน อะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๗. ๗.๑ พุทธบัญญัติ มูลบัญญัติ อนุบัญญัติ คืออะไร ? ๒๕๔๔
๗.๒ อย่างไรเรียกว่าอาบัติเป็นโลกวัชชะ อธิบายมาดู ? ๒๕๓๘
๘. ๘.๑ อะไรเรียกว่า สมุฏฐานแห่งอาบัติ มีเท่าไร บอกมาดู ? ๒๕๔๒
๘.๒ เม
ือเพ่งเอาเจตนาเป็ นท
ีตังD จะจัดอาบัติเป็นก
ีพวก จงจัดมาดู ? ๒๕๔๒
๙. ๙.๑ คำว่า วินัยบัญญัติ ได้แก่อะไร ? ๒๕๔๒
๙.๒ วินัยมีกี
อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๑๐. ๑๐.๑ อาการที
ภิกษุจะต้องอาบัติมีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๑๐.๒ อาการที
ภิกษุจะต้องอาบัติ ข้อไหนเป็นข้อเลวที
สุด ? ๒๕๔๑
----------------------------------------
..
เฉลยวินัยมุข นักธรรมชั นตรี
กัณฑ์ที ๑ – ๒
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*************************************
๑. ๑.๑ ผู้อุปสมบทต้องพร้อมด้วยวัตถุสมบัติท
ีสำคัญ ๔ ประการคือ
๑. เป็นผู้ชายมีอายุครบ ๒๐ ปี
๒. ไม่เป็นมนุษย์วิบัติ เช่นถูกตอน หรือเป็นกะเทย
๓. ไม่เคยทำอนันตริยกรรม
๔. ไม่เคยต้องปาราชิก หรือไม่เคยเข้ารีตเดียรถีย์
๑.๒ ภิกษุผู้รับรองหรือชักนำเข้าหมู่ เรียกว่า อุปัชฌาย์
๒. ๒.๑ อกรณียกิจ คือกิจที
อันบรรพชิตไม่ควรกระทำ มี ๔ อย่าง คือ
เสพเมถุน ๑ ลักของเขา ๑ ฆ่าสัตว์ ๑ พูดอวดคุณวิเศษที
ไม่มีในตน ๑
๒.๒ นิสัย คือปัจจัยเครื
องอาศัยของบรรพชิต มี ๔ อย่าง
๑. เท
ียวบิณฑบาต ๒. นุ่งห่มผ้าบังสุกุล
๓. อยู่โคนไม้ ๔. ฉันยาดองด้วยนำD มูตรเน่า
๓. ๓.๑ สิกขาบทกับสิกขาบท ต่างกันดังนี D สิกขา คือ ข้อท
ีภิกษุต้องศึกษา
สิกขาบท คือพระบัญญัติมาตราหนึ
งๆ เป็นสิกขาบทหนึ
ง ๆ
๓.๒ สิกขามี ๓ คือ
๑.ศีล ความรักษากาย วาจาให้เรียบร้อย
๒.สมาธิ ความรักษาใจมั

๓.ปัญญา ความรอบรู้ในกองสังขาร
๔. ๔.๑ การอุปสมบทมี ๓ วิธี คือ เอหิภิกขุอุปสัมปทา ๑ ติสรณคมนูปสัมปทา ๑
ญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทา ๑
๔.๒ เอหิภิกขุอุปสัมปทา พระศาสดาทรงกระทำการบวชให้เอง
ติสรณคมนูปสัมปทา สาวกกระทำการบวชให้
ญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทา สงฆ์กระทำการบวชให้
๕. ๕.๑ การกสงฆ์แห่งกิจนันD ๆ มี ๔ อย่าง คือ
๑. จตุวรรค มีพวก ๔ ๒. ปัญจวรรค มีพวก ๕
๓. ทสวรรค มีพวก ๑๐ ๔.วีสติวรรค มีพวก ๒๐
๕.๒ เพราะมีผู้มาบวชเป็ นภิกษุมาจากสกุลต่างๆ กัน มีพืนD เพต่างกัน มีนำD ใจ
ต่างกัน หากไม่มีวินัยปกครองหรือไม่ประพฤติตามวินัย จะเป็นหมู่ภิกษุท

ไม่ดีไม่เป็นท
ีตังD แห่งศรัทธาเล
ือมใส เพราะขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ด้านวัตรปฏิบัติ เป็นต้น จึงทรงบัญญัติพระวินัยไว้
๖ ๖.๑ ต้องอาบัติ หมายความว่า ต้องโทษคือ ความผิดฐานละเมิดข้อที
พระพุทธ
เจ้าทรงห้าม
๖.๒ อาบัติมีโทษ ๓ สถาน คือ อย่างหนัก อย่างกลาง อย่างเบา
๗. ๗.๑ พุทธบัญญัติ คือข้อท
ีพระพุทธเจ้าทรงตังD ไว้ เป็นโทษบังคับให้ภิกษุประพฤติ
มูลบัญญัติ คือข้อที
ทรงบัญญัติไว้
อนุบัญญัติ คือข้อที
ทรงบัญญัติเพิ
มเติมภายหลัง
๗.๒ โลกวัชชะ คือ อาบัติท
ีเป็นโทษทางโลกท
ีคนสามัญ หรือผู้มิใช่ภิกษุทำเข้าก็
เป็นความผิด ความเสียหายเหมือนกัน เช่นทำโจรกรรม และการฆ่า
มนุษย์ ตลอดถึงโทษที
เบา เช่น ทุบตีกัน ด่ากัน เป็นต้น.
๘. ๘.๑ ที
เกิดแห่งอาบัติ เรียกว่า สมุฏฐานแห่งอาบัติ โดยตรงมี ๔ คือ
๑. ลำพังกาย ๒. ลำพังวาจา ๓. ลำพังกายกับจิต ๔. ลำพังวาจากับจิต
เมื
อว่าตามบาลีมี ๖ คือ เติมกายวาจา รวมเป็น ๑ และกายวาจาจิต
รวมกันเป็น ๑
๘.๒ จัดไว้เป็น ๒ พวก คือ
๑. สจิตตกะ ต้องเพราะมีเจตนา จงใจล่วงละเมิด
๒. อจิตตกะ ต้องเพราะไม่มีเจตนา คือไม่จงใจล่วงละเมิด
๙ ๙.๑ วินัยบัญญัติได้แก่ ข้อที
พระพุทธเจ้าทรงห้าม และข้อที
พระพุทธเจ้าทรง
อนุญาต
๙.๒ วินัยมี ๒ อย่างคือ อาทิพรหมจริยกาสิกขาบท และอภิสมาจาริกาสิกขา
หรืออีกนัยหนึงได้แก่ ทรงห้ามทำอย่างหนึง ทรงอนุญาตให้ทำอย่างหนึง
และอีกนัย คือ อาคาริยวินัย กับอนาคาริยวินัย
๑๐. ๑๐.๑ อาการที
ภิกษุจะต้องอาบัติมี ๖ อย่าง คือ
๑. ต้องด้วยไม่ละอาย ๒. ต้องด้วยไม่รู้ว่าส
ิงนันD เป็นอาบัติ
๓. ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทำ ๔. ต้องด้วยสำคัญว่าควรในของที
ไม่ควร
๕. ต้องด้วยสำคัญว่าไม่ควรในของที
ควร ๖. ต้องด้วยลืมสติ
๑๐.๒ ข้อว่า ต้องด้วยความไม่ละอาย เลวทีสุด


ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นตรี
กัณฑ์ที ๓ - ๔
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*************************************
๑. ๑.๑ อาทิพรหมจริยากาสิกขา คืออะไร ? ๒๕๓๘
๑.๒ อภิสมาจาริกาสิกขา คืออะไร ? ๒๕๓๘
๒. ๒.๑ ภิกษุฆ่าสัตว์ให้ตายเป็นอาบัติอะไร ? ๒๕๔๔
๒.๒ ภิกษุพยายามจะฆ่าตนเองเป็นอาบัติอะไร ? ๒๕๔๔
๓. ๓.๑ อุตตริมนุสสธรรมคืออะไร มีอะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๓.๒ ปาราชิก ๔ ข้อไหนเป็นสจิตตกะ ข้อไหนเป็นอจิตตกะ ทำไมเป็นเช่นนั.น ?
๒๕๔๓
๔. ๔.๑ ภิกษุทำอะไรบ้าง จึงขาดจากความเป็นภิกษุ ภายหลังกลับอุปสมบทอีกได้
หรือไม่ ? ๒๕๔๒
๔.๒ ปาราชิกนั.นต้องล่วงละเมิดทั.ง ๔ ข้อ หรือเพียงอย่างใดอย่างหนึ2ง จึงเป็น
ปาราชิก จงแถลงมาดู ? ๒๕๔๒
๕. ๕.๑ ภิกษุพูดอวดอุตตริมนุสสธรรมอย่างไร จึงต้องอาบัติ ? ๒๕๔๑
๕.๒ ปาราชิก ๔ สิกขาบท สิกขาบทไหนเป็นสาณัตติกะ อนาณัตติกะ ? ๒๕๔๑
๖. ๖.๑ ทรัพย์ที2กล่าวไว้ในคัมภีร์วิภังค์ เมื2อรวมแล้วมีกี2ประเภท อะไรบ้าง ? ๒๕๓๙
๖.๒ ภิกษุท2ีต้องอาบัติเพราะทรัพย์ของตนเองนั.นมีหรือไม่ จงชี.แจง ? ๒๕๓๙
๗. ๗.๑ จงบอกสิกขาบทที2 ๑ และที2 ๒ แห่งปาราชิกมาให้ดู ? ๒๕๔๓
๗.๒ จงบอกสิกขาบทที2 ๓ และที2 ๔ แห่งปาราชิกมาให้ดู ? ๒๕๔๓
๘. ๘.๑ ภิกษุต้องอาบัติปาราชิกแล้ว มีผลอย่างไร ? ๒๕๓๘
๘.๒ ภิกษุถูกข่มขืนต้องอาบัติอะไร ? ๒๕๓๘
๙. ๙.๑ คำว่า ลักสับ หมายความว่าอย่างไร ? ๒๕๓๘
๙.๒ อาการที2ไม่เป็น อทินนาทานมี ๔ คืออะไรบ้าง ? ๒๕๓๖
๑๐. ๑๐.๑ ทรัพย์ราคา ๕ มาสก เทียบเท่าราคาทองคำหนักกี2เมล็ดข้าวเปลือก ? ๒๕๓๖
๑๐.๒ จงอ้างสิกขาบทท2ีบัญญัติไว้ไม่ให้โหดร้าย และใจความข้อนั.นมีว่าอย่างไร ? ๒๕๔๑
เฉลยวินัยมุข นักธรรมชั นตรี
กัณฑ์ที ๓ - ๔
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*************************************
๑. ๑.๑ อาทิพรหมจริยกาสิกขา คือ ข้อศึกษาอันเป็นเบื.องต้นแห่งพรหมจรรย์
๑.๒ อภิสมาจาริกาสิกขา คือ ข้อศึกษาเนื2องด้วยอภิสมาจารคือมารยาทอันดีงาม
๒. ๒.๑ ถ้าเป็นสัตว์มนุษย์ เป็นอาบัติปาราชิก สัตว์ที2เรียกว่า อมนุษย์ เช่น ยักษ์
เปรต และสัตว์ดิรัจฉานมีฤทธAิ จำแลงกายเป็นมนุษย์ได้ เป็นอาบัติถุลลัจจัย
ดิรัจฉานทัว2 ไป เป็นอาบัติปาจิตตีย์
๒.๒ ภิกษุพยายามจะฆ่าตัวเองเป็นอาบัติทุกกฏ
๓. ๓.๑ อุตตริมนุสสธรรม คือธรรมอันยิง2 ของมนุษย์ หรือคุณอย่างยวดยิง2 ของ
มนุษย์ มีฌาน วิโมกข์ สมาธิ สมาบัติ มรรค ผล นิพพาน
๓.๒ ปาราชิกทั.ง ๔ ข้อ เป็นสจิตตกะ ท2ีเป็นเช่นนั.น เพราะต้องด้วยจงใจเกิดขึ.น
โดยมีเจตนาเป็นสมุฏฐาน
๔. ๔.๑ ภิกษุทำอย่างนี. คือ เสพเมถุน ๑ ถือเอาสิ2งของท2ีเจ้าของมิได้ให้มีราคา ๕
มาสก ๑ แกล้งฆ่ามนุษย์ให้ตาย ๑ อวดอุตตริมนุสสธรรมที2ไม่มีในตน ๑
จึงขาดจากความเป็นภิกษุ ภายหลังกลับมาอุปสมบทอีกไม่ได้
๔.๒ ปาราชิกทั.ง ๔ ข้อ ภิกษุล่วงละเมิดเพียงข้อใดข้อหนึ2ง แม้คราวเดียวก็ต้อง
ปาราชิก
๕. ๕.๑ ภิกษุพูดอวดว่า ได้ฌานเป็นต้น หรืออวดว่าเป็นพระโสดาบัน เป็นต้น ซึ2ง
ไม่มีในตน พูดอวดแก่ผู้ใด ผู้นั.นเข้าใจ ต้องปาราชิก ผู้ฟังไม่เข้าใจ ต้อง
ถุลลัจจัย
๕.๒ ปาราชิกทั.ง ๔ สิกขาบท สิกขาบทท2ี ๑ และ ๔ เป็นอนาณัตติกะ คือไม่ต้อง
เพราะสั2ง สิกขาบทท2ี ๒ และ ๓ เป็นสาณัตติกะ คือแม้สั2งให้ผู้อ2ืนทำ ผู้สั2งก็ต้อง
อาบัติปาราชิกด้วย
๖. ๖.๑ มี ๒ ประเภทคือ สังหาริมทรัพย์ ทรัพย์ที2เคลื2อนที2ได้ ได้แก่ปศุสัตว์ และ
สัตว์พาหนะ เช่น แพะ แกะ สุกร โค กระบือ เป็นต้น และ
อสังหาริมทรัพย์ ทรัพย์ที2เคลื2อนที2ไม่ได้ ได้แก่ ที2ดิน เรือน เป็นต้น
๖.๒ มีคือ ภิกษุนำสิ2งของท2ีต้องเสียภาษีมา จะผ่านท2ีด่านเก็บภาษี ซ่อนสิ2งของ
เหล่านั.นเสีย หรือของมาก ซ่อนให้เห็นแต่น้อย ต้องอาบัติตามมูลค่าท2ีต้อง
เสียภาษี ขณะนำของนั.นพ้นเขตท2ีเสียภาษี เรียกว่าตระบัด ในคัมภีร์วิภังค์
เรียกชื2อว่า สุงฆาตะ
๗. ๗.๑ สิกขาบทที2 ๑ ว่า ภิกษุเสพเมถุนต้องปาราชิก
สิกขาบทท2ี ๒ ว่า ภิกษุถือเอาสิ2งของท2ีเจ้าของเขาไม่ได้ไห้ ได้ราคา ๕ มาสก
ต้องปาราชิก
๗.๒ สิกขาบทที2 ๓ ว่า ภิกษุแกล้งฆ่ามนุษย์ให้ตาย ต้องปาราชิก
สิกขาบทที2 ๔ ว่า ภิกษุอวดอุตตริมนุสสธรรมที2ไม่มีในตน ต้องปาราชิก
๘. ๘.๑ มีผลเป็นผู้พ่ายจากหมู่ ไม่มีสังวาส คือธรรมเป็นเหตุอยู่ร่วมกันกับภิกษุทั.ง
หลายอีกขาดอำนาจอันชอบธรรมที2จะถือเอาประโยชน์แห่งความเป็นภิกษุ
เช่น ขาดจากสิกขาบทอันมีเสมอกับภิกษุ ขาดจากความปกครองไม่ได้เพื2อ
จะเข้าอุโบสถ ปวารณาและสังฆกรรมกับสงฆ์อีก มาบวชอีกไม่ได้
๘.๒ ภิกษุถูกข่มขืนแต่ยินดี ในขณะที2องค์กำเนิดเข้าไปก็ดี เข้าไปถึงที2แล้วก็ดี
หยุดอยู่ก็ดี ถอนออกก็ดี แม้ขณะใดขณะหนึ2ง ต้องอาบัติปาราชิก ถ้าไม่มี
จิตยินดี ไม่เป็นอาบัติ
๙. ๙.๑ ลักสับ หมายความว่า มีไถยจิตสับสลากชื2อตนกับชื2อผู้อื2นในกองของ ด้วย
หมายจะเอาลาภของผู้อื2นที2มีราคากว่า หรือการเอาของปลอมสับเอาของดีก็
มีความหมายเช่นเดียวกัน
๙.๒ อาการที2ไม่เป็นอทินนาทานมี ๔ คือ
๑. ถือเอาด้วยวิสาสะ ความคุ้นเคย
๒. ถือเอาโดยเป็นของยืม
๓. ถือเอาโดยความสำคัญว่าเป็นของตน
๔. ถือเอาโดยสำคัญว่าเป็นของทิ.ง ที2เรียกว่า บังสุกุล
๑๐. ๑๐.๑ ราคาทรัพย์ ๕ มาสก เทียบเท่าราคาทองคำหนัก ๒๐ เมล็ดข้าวเปลือก
๑๐.๒ ไม่ให้โหดร้าย อ้างสิกขาบทที2 ๓ แห่งปาราชิก ใจความว่า ภิกษุแกล้งฆ่า
มนุษย์ให้ตาย ต้องปาราชิก
---------------------------------------------------

ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นตรี
กัณฑ์ที ๕-๗
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
**************
๑. ๑.๑ ภิกษุมีความกำหนัดจับต้องอนุปสัมบันต้องอาบัติอะไร? ๒๕๔๓
๑.๒ เพราะเหตุไร สังฆาทิเสส จึงเรียกว่า ครุกาบัติ ทุฏ)ุลลาบัติ วุฏฐานคามินี ? ๒๕๔๓
๒. ๒.๑ สังฆาทิเสสข้อไหนภิกษุล่วงละเมิดเข้าแล้ว จัดเป็นคนเลวทรามที/สุด เพราะเหตุไร?๒๕๔๒
๒.๒ สังฆาทิเสสสิกขาบทไหนที/ภิกษุต้องเพราะมีราคะ สิกขาบทไหนต้องเพราะมีโทสะ
เป็นเค้ามูล?๒๕๔๑
๓. ๓.๑ สังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบท สิกขาบทไหนบ้าง เรียกปฐมาปัตติกะ เพราะเหตุไร?๒๕๔๑
๓.๒ อนิยตสิกขาบทที/ ๑ ห้ามภิกษุทำอะไร?๒๕๓๘
๔. ๔.๑ ในคัมภีร์วิภังค์กำหนดองค์แห่งการชักสื/อไว้เท่าไร บอกมาให้ครบ? ๒๕๓๙
๔.๒ สามีภรรยาทะเลาะกัน ภรรยากลับไปอยู่บ้านเดิม ภิกษุชักโยงให้ทั8งสองคืนดี
กันต้องอาบัติอะไรหรือไม่ เพราะเหตุไร ?๒๕๓๙
๕. ๕.๑ คำว่า นิสสัคคิยปาจิตตีย์ หมายความว่าอย่างไร ?๒๕๔๔
๕.๒ ปาจิตตีย์แบ่งเป็น นิสสัคคิยปาจิตตีย์และสุทธิกปาจิตตีย์ เพราะเหตุไร?๒๕๔๔
๖. ๖.๑ ไตรจีวรได้แก่อะไรบ้าง?๒๕๔๐
๖.๒ จีวรทำด้วยอะไรบ้าง ที/ภิกษุใช้ได้ ?๒๕๔๐
๗. ๗.๑ ภิกษุต้องการจีวร จะบอกคฤหัสถ์ได้หรือไม่ ? ๒๕๓๙
๗.๒ ขอทราบนิสสัคคีย์โดยล่วงเวลาสัก ๓ อย่าง? ๒๕๓๘
๘. ๘๑ ภิกษุนำ เตียง ตัง/ ฟูก เก้าอี8 ของสงฆ์ไปใช้ในท/ีแจ้งแล้ว ครั8นหลีกไปเสียไม่เก็บ
หรือไม่มอบหมายให้ผู้อื/นเก็บให้เรียบร้อย ต้องอาบัติ อะไรหรือไม่?๒๕๔๔
๘.๒ ภิกษุเข้าบ้านในเวลาวิกาล โดยไม่บอกลาภิกษุอื/นในวัด ต้องอาบัติอะไรหรือไม่ ?๒๕๔๔
๙. ๙.๑ บริขาร ๘ มีอะไรบ้าง ภิกษุซ่อนบริขารของผู้อื/นเพื/อล้อเล่นต้องอาบัติอะไร ?๒๕๔๓
๙.๒ คำว่า พินทุกัปปะ คืออะไร? ๒๕๔๓
๑๐. ๑๐.๑ คำว่า วิกาล ในสิกขาบทที/ ๗ แห่งโภชนวรรคที/ ๔ หมายถึงเวลาไหน ถึงเวลาไหน?๒๕๔๒
๑๐.๒ ลักษณะของการประเคน มีเท่าไร บอกมาให้ครบ ? ๒๕๔๒
*************************
เฉลยวินัยมุข นักธรรมชั นตรี
กัณฑ์ที ๕–๗
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
**********************
๑. ๑.๑ ภิกษุมีความกำหนัดจับต้องอนุปสัมบันที/เป็นหญิง ต้องอาบัติสังฆาทิเสส
อนุปสัมบันที/เป็นบัณเฑาะก์ ต้องอาบัติถุลลัจจัย อนุปสัมบันที/เป็นชาย ต้องอาบัติทุกกฏ
๑.๒ เพราะเป็นอาบัติหนัก จึงเรียกว่า ครุกาบัติ
เพราะมีเรื/องหยาบคายมาก จึงเรียกว่า ทุฏ)ุลลาบัติ
เพราะภิกษุผู้ต้อง จะพ้นได้ด้วยอยู่กรรม จึงเรียกว่า วุฏฐานคามินี
๒. ๒.๑ สังฆาทิเสสสิกขาบทที/ ๑๐ ภิกษุล่วงเข้าแล้วเป็นคนเลวทรามอย่างที/สุด เพราะ
อาศัยหมู่เขาแล้ว ยังทำลายหมู่ ทั8งเป็นอนันตริยกรรมอีกด้วย
๒.๒ ตั8งแต่สิกขาบทท/ี ๑–๔ ภิกษุต้องเพราะมีราคะเป็นเค้ามูล สิกขาบทท/ี ๘–๙
ต้องเพราะมีโทสะเป็นเค้ามูล
๓. ๓.๑ สังฆาทิเสสสิกขาบทที/ ๑-๙ เรียกว่า ปฐมาปัตติกะ เพราะให้ต้องอาบัติแต่แรกทำ
๓.๒ อนิยตสิกขาบทท/ี ๑ ห้ามภิกษุนัง/ ในท/ีลับตา คืออาสนะกำบังกับมาตุคามผู้เดียว
๔. ๔.๑ ในคัมภีร์วิภังค์กำหนดองค์แห่งการชักสื/อไว้ ๓ คือ
๑. รับคำของผู้วาน ๒. บอกแก่อีกฝ่ ายหนึ/ง ๓. กลับมาบอกผู้วาน
๔.๒ สามีภรรยาทะเลาะกัน ภรรยากลับไปอยู่บ้านเดิม ภิกษุชักโยงให้ทั8งสองคืนดีกัน
ไม่ต้องอาบัติ เพราะคนนั8นยังไม่ได้หย่ากัน
๕. ๕.๑ คำว่า นิสสัคคิยปาจิตตีย์ หมายความว่า อาบัติปาจิตตีย์ท/ีจำต้องสละสิ/งของ
๕.๒ เพราะว่า นิสสัคคิยปาจิตตีย์นั8น จำต้องเสียสละวัตถุอันเป็นเหตุให้ต้องอาบัตินั8น เสีย
ก่อน จึงแสดงอาบัติได้ ส่วนสุทธิกปาจิตตีย์ ภิกษุพึงแสดงอาบัติได้เลย ไม่มีวัตถุ
ใดๆที/จำต้องสละ
๖. ๖.๑ ไตรจีวรได้แก่
อันตรวาสก ผ้านุ่ง ๑ อุตตราสงค์ ผ้าห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าคลุม ๑
๖.๒ จีวรที/ภิกษุใช้ได้ทำด้วยวัตถุ ๖ ชนิด คือ
๑.โขมํ ผา้ ทาํ ด้วยเปลือกไม้ ๒.กปฺปาสิกํ ผา้ ทาํ ด้วยฝ้ าย
๓.โกเสยฺยํ ผา้ ทาํ ด้วยไม้ ๔.กมฺพลํ ผา้ ด้วยทาํ ด้วยขนสัตว์
๕.สาณํ ผา้ ทาํ ด้วยเปลือกไม้สาณะ ๖.ภงฺคํ ผา้ ทาํ ด้วยสัมภาระเจือกัน
๗. ๗.๑ ถ้าขอกะคฤหัสถ์ผู้เป็นญาติหรือปวารณาควร ถ้าเขาไม่ใช่ญาติ ไม่ใช่ปวารณา
ไม่ควร ในคราวจีวรถูกลัก ถูกชิง หรืออันตรธานไปด้วยอันตรายอย่างใดอย่างหนึ/ง
ขอเขาได้ควร แต่ต้องรู้จักประมาณในการขอ คือ จีวรหายไป ๓ ผืน ขอได้ ๒ ผืน
หายไป ๒ ผืน ขอได้ ๑ ผืน ค้าหายไปผืนเดียวขอเขาไม่ได้
๗.๒ นิสสัคคีย์โดยล่วงเวลา ๓ อย่าง
๑. อยู่ปราศจากไตรจีวรเกิน ๑ ราตรี
๒. เก็บอติเรกจีวรเกิน ๑๐ วัน
๓. เก็บอติเรกบาตรเกิน ๗ วัน
๔. อกาลจีวรที/ได้อนุญาตเกิน ๑ เดือน
๕. อัจเจกจีวรล่วงกาล
๖. จีวรอยู่ปราศจากเกิน ๖ คืน
๗. อนุญาตพิเศษเภสัชล่วง ๗ วัน
๘. ๘.๑ ภิกษุนำ เตียง ตัง/ ฟูก เป็นต้นไปใช้ในท/ีแจ้งแล้ว ไม่เก็บให้เรียบร้อย
ต้องอาบัติปาจิตตีย์
๘.๒ ภิกษุเข้าบ้านในเวลาวิกาล ไม่บอกลาภิกษุอื/นในวัด ต้องอาบัติปาจิตตีย์เว้นไว้แต่
มีกิจรีบด่วน
๙. ๙.๑ บริขาร ๘ มีดังนี8 ๑.สังฆาฏิ ๒.อุตตราสงค์ ๓.อันตรวาสก ๔.บาตร
๕มีดโกน ๖.กล่องเข็ม ๗.ประคตเอว ๘. ผ้ากรองน8ำ
๙.๒ คำว่า พินทุกัปปะ คือการทำให้เสียสี (วัตถุสำหรับทำให้เสียสี คือ เขียว คราม
โคลน ดำคล8ำ ทำให้เป็นจุดกลม หรือดวงกลมใหญ่เท่าแววตานกยูง
เล็กเท่าหลังตัวเรือด)
๑๐. ๑๐.๑ คำว่า วิกาล ในสิกขาบทท/ี ๗ แห่งโภชนวรรคท/ี ๔ หมายถึงเวลาตั8งแต่เท/ียงวันไป
แล้วจนถึงอรุณขึ8น
๑๐.๒ ลักษณะการประเคนมี ๕ ประการ คือ
๑. ของที/พึงประเคนไม่ใหญ่โตหรือหนักเกินไป พอคนปานกลางยกได้คนเดียว
๒. ผู้ประเคนเข้ามาในหัตถบาส
๓. เขาน้อมเข้ามา
๔. กิริยาที/น้อมเข้ามาให้ ด้วยกายก็ได้ ด้วยของเนื/องด้วยกายก็ได้
๕. ภิกษุรับด้วยกายก็ได้ รับด้วยของเนื/องด้วยกายก็ได้
ปัญหาวินัย นักธรรมชั นตรี
กัณฑ์ที ๘ - ๙
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
***********************************
๑. ๑.๑ เสขิยวัตรคืออะไร มีกี สิกขาบท ? ๒๕๔๔
๑.๒ ภิกษุไม่เอื อเฟื อในเสขิยวัตร ปฏิบัติผิดธรรมเนียม ต้องอาบัติอะไร ? ๒๕๔๔
๒. ๒.๑ ตามพระวินัย ภิกษุถืออิริยาบทไหนเป็นอิริยาบถเคารพ จงตอบอ้างที
มาด้วย ? ๒๕๓๙
๒.๒ พระพุทธเจ้าทรงแสดงวัตรหรือธรรมเนียมผู้ดีสำหรับภิกษุสามเณรไว้อย่างไร
ตอบให้มีหลัก ? ๒๕๓๘
๓. ๓.๑ ครองผ้าอย่างไร เรียกว่าเป็นปริมณฑล ? ๒๕๓๗
๓.๒ เสขิยวัตรจัดเข้าในวินัยประเภทไหน ? ๒๕๓๖
๔. ๔.๑ การอุปสมบทจัดเป็นอธิกรณ์อะไร ใครเป็นผู้ระงับอธิกรณ์นั น ? ๒๕๔๓
๔.๒ ภิกษุเถียงกันเรื องการแก้ปัญหาจราจรเป็นอธิกรณ์อะไรหรือไม่ เพราะ
เหตุใด ? ๒๕๔๒
๕. ๕.๑ อธิกรณ์คืออะไร ? ๒๕๔๒
๕.๒ ธรรมเป็นเคร ืองระงับอธิกรณ์นั น เรียกว่าอะไร มีเท่าไร
บอกมาให้ครบ ?๒๕๔๒
๖. ๖.๑ อธิกรณ์ มีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๖.๒ ติณวัตถารกวินัย มีอธิบายอย่างไร ? ๒๕๔๑
๗. ๗.๑ วินัยมุขกัณฑ์ที ๙ ว่าด้วยเรื องอะไร ? ๒๕๓๘
๗.๒ การปลงอาบัติจัดเข้าในอธิกรณสมถะข้อไหน สำรับระงับอธิกรณ์อะไร ?๔๐
๘. ๘.๑ ภิกษุจ้องดูบาตรของตนขณะฉันบิณฑบาต ต้องอาบัติหรือไม่ ถ้าจ้องดู
บาตรของผู้อื นเล่าต้องอาบัติอะไรหรือไม่ ตอบให้มีหลัก ? ๒๕๓๙
๘.๒ โภชนปฏิสังยุตข้อ ๒๒,๒๓ มีความว่าอย่างไร ? ๒๕๓๘
๙. ๙.๑ วิวาทาธิกรณ์คืออะไร ระงับด้วยสมถะอะไร ? ๒๕๓๗
๙.๒ ในเสขิยวัตรทรงสอนให้ภิกษุสำรวมตาไว้อย่างไร ? ๒๕๓๕
๑๐. ๑๐.๑ ในเสขิยวัตรทรงสอนการรับบิณฑบาตที น่าศรัทธาเลื อมใสไว้อย่างไรบ้าง ? ๒๕๓๕
๑๐.๒ ในเสขิยวัตรทรงสอนให้ช่วยกันรักษาสิ งแวดล้อมไว้อย่างไร ? ๒๕๓๕

เฉลยวินัย นักธรรมชั นตรี
กัณฑ์ที ๘–๙
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*****************************
๑. ๑.๑ เสขิยวัตร คือวัตรหรือธรรมเนียมที ควรศึกษา มี ๗๕ สิกขาบทฯ
๑.๒ ภิกษุไม่เอื อเฟื อในเสขิยวัตร ปฏิบัติผิดธรรมเนียม ต้องอาบัติทุกกฏ
๒. ๒.๑ ถืออิริยาบถยืนเป็นอิริยาบถที เคารพ ดังท่านบัญญัติไว้ในสิกขาบทที
๑๔ ธรรมเทศนาปฏิสังยุต เสขิยวัตรว่า ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เรา
ยืนอยู่ จักไม่แสดงธรรมแก่คนไม่เป็นไข้ผู้นัง อยู่
๒.๒ ทรงแสดงธรรมเนียมที เรียกว่าเสขิยวัตรไว้ ๔ หมวดคือ
๑.สารูป ว่าด้วยธรรมเนียมควรประพฤติในเวลาเข้าบ้าน
๒.โภชนปฏิสังยุต ว่าด้วยธรรมเนียมรับบิณฑบาตและฉันอาหาร
๓.ธรรมเทศนาปฏิสังยุต ว่าด้วยธรรมเนียมไม่ให้แสดงธรรมแก่บุคคลผู้
แสดงอาการไม่เคารพ
๔.ปกิณณกะ ว่าด้วยธรรมเนียมถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
๓. ๓.๑ นุ่งปิ ดสะดือ ปกเข่าทั ง ๒ เรียกว่านุ่งเป็นปริมณฑล ห่มเข้าบ้านปิ ดหลุม
คอปกข้อมือทั ง ๒ ปกเข่าทั ง ๒ เรียกว่าห่มเป็นปริมณฑล
๓.๒ เสขิยวัตรจัดเข้าในอภิสมาจาร
๔. ๔.๑ การอุปสมบทจัดเป็นกิจจาธิกรณ์ สงฆ์เป็นผู้ระงับอธิกรณ์นั น
๔.๒ เถียงเรื องการแก้ปัญหาจราจร ไม่จัดเป็นอธิกรณ์ เพราะไม่ใช่การเถียง
กันปรารภพระธรรมวินัย
๕. ๕.๑ อธิกรณ์ คือเร ืองท ีเกิดขึ นจะต้องจัดต้องทำ
๕.๒ ธรรมเป็นเครื องระงับอธิกรณ์ เรียกว่าอธิกรณสมถะ มี ๗ อย่างคือ
๑. สัมมุขาวินัย ๒.สติวินัย ๓.อมูฬหวินัย ๔.ปฏิญญาตกรณะ
๕. เยภุยยสิก ๖.ตัสสปาปิยสิกา ๗.ตัณวัตถารกวินัย
๖. ๖.๑ อธิกรณ์มี ๔ อย่างคือ
๑.วิวาทาธิกรณ์ ๒.อนุวาทาธิกรณ์
๓.อาปัตตาธิกรณ์ ๔.กิจจาธิกรณ์
๖.๒ ติณวัตถารกวินัย ได้แก่ กิริยาท ีใช้ประนีประนอมกันทั ง ๒ ฝ่ าย ไม่ต้อง
ชำระ ไม่ต้องสะสางความเดิม วิธีนี ใช้ในเร ืองยุ่งยาก และเป็นเร ืองสำคัญ
อันจะเป็นเร ืองกระเทือนทัว ไป
๗. ๗.๑ วินัยมุขกัณฑ์ที ๙ ว่าด้วยเรื องอธิกรณสมถะ คือ ธรรมสำหรับระงับอธิกรณ์
๗.๒ การปลงอาบัติจัดเข้าในปฏิญญาตกรณะ สำหรับระงับอาปัตตาธิกรณ์
๘. ๘.๑ ไม่ต้องอาบัติอะไร ถ้าจ้องดูบาตรของผู้อื นด้วยคิดจะยกโทษ ต้องอาบัติทุกกฏ
ตามสิกขาบทท ี ๑๒ โภชนปฏิสังยุต เสขิยวัตร หากดูด้วยความเอื อเฟื อจะให้
ของฉันท ีผู้อยู่ใกล้เคียงไม่มี ไม่ต้องอาบัติ
๘.๒ มีข้อความดังต่อไปนี โภชนปฏิสังยุต
ข้อ ๒๒ พึงศึกษาว่า เราจักไม่ฉัน ทำเมล็ดข้าวให้ตก
ข้อ ๒๓ พึงศึกษาว่า เราจักไม่ฉันแลบลิ น
๙. ๙.๑ วิวาทาธิกรณ์คือ การถกเถียงกันปรารถธรรมวินัยว่า อย่างนี ถูกอย่างนี ผิด
ระงับด้วยสัมมุขาวินัย และเยภุยยสิกา
๙.๒ ทรงสอนให้ภิกษุสำรวมตาไว้ว่า เราจักมีตาทอดลง ไปนัง ในบ้าน
๑๐. ๑๐.๑ ทรงสอนรับบิณฑบาตท ีน่าเล ือมใสไว้ว่า เราจักรับบิณฑบาตโดยเอื อเฟื อ
จักมองดูแต่ในบาตร จักรับเสมอขอบปากบาตร
๑๐.๒ ทรงสอนให้ช่วยกันรักษาสิ งแวดล้อมไว้ว่า เราจักไม่เอาน ำล้างบาตรท ีมี
เมล็ดข้าวเทลงในระแวกบ้าน จักไม่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ บ้วนเขฬะลงในน ำ
----------------------------













ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น