วันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2558

อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นเอก

ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๒๓ - ๒๕
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
**********************************
๑. ๑.๑ มูลเหตุให้เกิดสังฆกรรมมีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๐
๑.๒ สังฆกรรมมีเท่าไร อะไรบ้าง อธิบายมาโดยย่อ ? ๒๕๔๐
๒. ๒.๑ การตัง% ญัตติและสวดอนุสาวนามีอยู่ในกรรมอะไรบ้าง ในสังฆกรรมทัง% ๔ ? ๒๕๔๓
๒.๒ สังฆกรรม ๔ นั%น อย่างไหนต้องทำในสีมา อย่างไหนทำนอกสีมาก็ได้ ? ๒๕๔๓
๓. ๓.๑ อปโลกนกรรมมีกี.อย่าง ? อะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๓.๒ สงฆ์ผู้ทำสังฆกรรม มีกำหนดจำนวนไว้อย่างไร ? ๒๕๔๔
๔. ๔.๑ กรรมวิบัติ หมายถึงอะไร ? ๒๕๓๗
๔.๒ สงฆ์ผู้ทำกรรม เมื.อทำพึงหลีกจากวิบัติ วิบัติที.พึงหลีกนัน% มีเท่าไร อะไรบ้าง ?
๒๕๓๙
๕. ๕.๑ พัทธสีมามีกำหนดขนาดพืน% ที.ไว้หรือไม่ ถ้ามี กำหนดไว้อย่างไร ? ๒๕๔๓
๕.๒ สถานที.ที.เป็ นสีมาตามพระวินัยไม่ได้ มีหรือไม่ เพราะเหตุใด ? ๒๕๔๓
๖. ๖.๑ สีมามีกี.ประเภท ในแต่ละประเภทนัน% แบ่งออกไปได้อีกเท่าไร อะไรบ้าง ?๒๕๔๑
๖.๒ วัตถุเป็ นเครื.องหมายเขตสีมา เรียกว่า นิมิตนัน% ระบุไว้กี.ชนิด อะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๗. ๗.๑ การผูกพัทธสีมาในบัดนี % มีวิธีปฏิบัติอย่างไร ? ๒๕๔๒
๗.๒ สีมาสังกระกันด้วยเหตุอะไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๘. ๘.๑ ขัณฑสีมาคืออะไร มหาสีมาเป็นอย่างไร ? ๒๕๓๗
๘.๒ คามสีมาและวิสุงคามสีมา มีลักษณะต่างกันอย่างไร ? ๒๕๔๐
๙. ๙.๑ ภิกษุผู้ได้รับเลือกเป็ นเจ้าหน้าที.ทำการสงฆ์ มีคุณสมบัติอย่างไร ? ๒๕๓๗
๙.๒ เจ้าหน้าที.ทำการสงฆ์ที.สงฆ์ควรสมมติตามพระพุทธานุญาตมีกี.แผนก อะไรบ้าง ?
๒๕๓๗
๑๐. ๑๐.๑ ภัตรมีนิยมต่าง มีพระบรมพุทธานุญาตไว้เท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๑
๑๐.๒ การให้ภิกษุถือเสนาสนะเป็ นหน้าที.ของใคร ผู้นัน% พึงปฏิบัติอย่างไร ? ๒๕๔๓
***************************
เฉลยวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๒๓ - ๒๕
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
***************************
๑. ๑.๑ มูลเหตุให้เกิดสังฆกรรมมี ๒ คือ
๑. ภิกษุบริษัทมีมากขึน"
๒. พระพุทธองค์ทรงประสงค์ให้สงฆ์เป็นใหญ่ในการบริหารคณะ ฯ
๑.๒ สังฆกรรมมี ๔ ประเภท คือ
๑. อปโลกนกรรม ได้แก่ กรรมท2ีทำการบอกกันในท2ีประชุมสงฆ์ ไม่ต้องตัง" ญัตติไม่ต้อง
สวดอนุสาวนา
๒. ญัตติกรรม ได้แก่ กรรมท2ีทำด้วยการตัง" ญัตติแต่ไม่สวดอนุสาวนา
๓. ญัตติทุติยกรรม ได้แก่ กรรมท2ีทำด้วยตัง" ญัตติแล้วสวดอนุสาวนาหนเดียว
๔. ญัตติจตุตถกรรม ได้แก่ กรรมท2ีทำด้วยตัง" ญัตติแล้วสวดอนุสาวนาสามหน ฯ
๒. ๒.๑ การตัง" ญัตติ มีในญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ส่วนการสวด
อนุสาวนา มีในญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ฯ
๒.๒ ญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ต้องทำในสีมาเท่านัน" ทำนอกสีมา
ไม่ได้ เพราะต้องตัง" ญัตติ ส่วนอปโลกนกรรม ทำนอกสีมาก็ได้ เพราะไม่ต้องตัง" ญัตติ ฯ
๓. ๓.๑ อปโลกนกรรม มี ๕ อย่างคือ
๑. นิสสารณา นาสนะสามเณรผู้กล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเจ้า
๒. โอสารณา รับสามเณรผู้ถูกนาสนะแล้วกลับประพฤติเรียบร้อยให้เข้าหมู่
๓. ภัณฑูกรรม บอกขออนุญาตปลงผมคนผู้จะบวชอันภิกษุจะทำเอง
๔. พรหมทัณฑ์ ประกาศไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดือ" ว่ายาก
๕. กัมมลักขณะ อปโลกน์แจกอาหารในโรงฉันเป็นต้น ฯ
๓.๒ สงฆ์ผู้ทำสังฆกรรม มีกำหนดจำนวนไว้ดังนี "
จตุวรรค สงฆ์มีจำนวน ๔ รูป
ปัญจวรรค สงฆ์มีจำนวน ๕ รูป
ทสวรรค สงฆ์มีจำนวน ๑๐ รูป
วีสติวรรค สงฆ์มีจำนวน ๒๐ รูป
๔. ๔.๑ กรรมวิบัติ คือ สังฆกรรมท2ีทำไม่ถูกระเบียบตามพระพุทธบัญญัติ ทำให้สังฆกรรมนัน"
เสียไป ทำแล้วไม่เป็นอันทำ
๔.๒ วิบัติท2ีพึงหลีกนัน" มี ๔ อย่างคือ
๑. วิบัติโดยวัตถุ เช่นให้อุปสมบทแก่ผู้มีอายุหย่อน ๒๐ หรืออภัพพบุคคล
๒. วิบัติโดยสีมา เช่นการทำสังฆกรรมในสีมาวิบัติ
๓. วิบัติโดยปริสะ เช่นภิกษุเข้าประชุมสงฆ์หย่อนกว่าจำนวนที2กำหนด เช่น ๓ รูป
สวดปาฏิโมกข์ และสมมติสีมา ๔ รูป ปวารณา เป็นต้น
๔. วิบัติโดยกรรมวาจา เช่น การสวดกรรมวาจาวิบัติโดยญัตติ หรือโดยอนุสาวนา
หรือวิบัติทัง" สอง ฯ
๕. ๕.๑ มีกำหนดไว้ คือกำหนดไม่ให้สมมติสีมาเล็กเกินไปจนจุภิกษุ ๒๑ รูปนั2งไม่ได้ และไม่ให้
สมมติสีมาใหญ่เกินไปกว่า ๓ โยชน์ สีมาเล็กเกินไปใหญ่เกินไป เป็นสีมาวิบัติ ใช้ไม่ได้ ฯ
๕.๒ ไม่มี เพราะในป่ าท2ีไม่มีบ้าน ก็จัดเป็ นสัตตัพภันตรสีมา ในน่านนำ" ท2ีได้ขนาด ก็จัดเป็น
อุทกุกเขปสีมา ผืนแผ่นดินท2ีมีหมู่บ้านก็จัดเป็นคามสีมา แม้สีมันตริกซง2ึ คัน" ระหว่างมหา
สีมากับขัณฑสีมาก็จัดเป็นคามสีมา ฯ
๖. ๖.๑ สีมามี ๒ ประเภท คือ
๑. พัทธสีมา แดนที2ผูกแล้ว ๒. อพัทธสีมา แดนที2ยังไม่ผูก ฯ
ในสีมาทัง" สองนี " พัทธสีมาแบ่งออกเป็น ๔ คือ
๑. สีมาชัน" เดียว ๒. มหาสีมา
๓. ขัณฑสีมา ๔. นทีปารสีมา
ส่วนอพัทธสีมาแบ่งออกเป็น ๔ เช่นกัน คือ
๑. คามสีมาหรือนิคมสีมา ๒. อุทกุกเขปสีมา
๓. สัตตัพภันตรสีมา ๔. วิสุงคามสีมา ฯ
๖.๒ นิมิตนัน" ระบุไว้ในบาลี ๘ ชนิด ภูเขา, ศิลา, ป่ าไม้, จอมปลวก, หนทาง, แม่นำ" , นำ" ฯ
๗. ๗.๑ การผูกพัทธสีมา มีวิธีปฏิบัติดังนี "
๑. พืน" ท2ีอันจะสมมติเป็นสีมาต้องได้รับอนุญาตจากบ้านเมืองก่อน
๒. ต้องประชุมภิกษุผู้อยู่ในเขตสีมา หรือนำฉันทะของเธอมา
๓. สวดถอน ๔. เตรียมนิมิตไว้ตามทิศ
๕. เม2ือสมมติสีมา ต้องประชุมภิกษุผู้อยู่ภายในนิมิต
๖. ทักนิมิต ๗. สวดสมมติสีมา ฯ
๗.๒ สีมาสังกระด้วยเหตุ ๔ คือ
๑. สมมติสีมาคาบเกี2ยวกัน
๒. วัตถุพาดพึงถึงกันในระหว่างสีมาทัง" สอง
๓. สังฆ์ ๒ หมู่จะทำสังฆกรรมเวลาเดียวกัน ไม่เว้นระหว่างแนวสงฆ์ให้ห่างกันพอได้ตาม
กำหนด
๔. ทำสังฆกรรมในเรือหรือแพที2ผูกกับหลักปักไว้บนตลิ2ง หรือทำในที2ไม่ได้กำหนดตาม
อุทกุกเขป ฯ
๘. ๘.๑ ขัณฑสีมา คือ สีมาที2ผูกเฉพาะโรงอุโบสถ มหาสีมา เป็นสีมาที2ผูกไว้รอบวัด
๘.๒ คามสีมา และวิสุงคามสีมา ต่างกันอย่างนีค" ือ
๑. คามสีมา ได้แก่เขตหมู่บ้านท2ีทางราชอาณาจักรกำหนดไว้แต่เดิม หมายถึงแด่นท2ีนาย
บ้านเก็บส่วย ปัจจุบันหมายถึงแดนท2ีผู้ใหญ่ปกครอง ซง2ึ พระสงฆ์เข้าอยู่อาศัยและถือ
เป็นแดนสามัคคี กล่าวคือแดนสมานสังวาส
๒. วิสุงคามสีมา ได้แก่เขตบานนน2ั เองท2ีทางราชการกำหนดเอกเทศหนง2ึ ว่า เอกเทศนีจ" ง
เป็นบ้านต่าง หรือจงเป็นแผนกหนึ2งจากบ้านในปัจจุบันได้แก่ แดนที2ได้รับพระราชทาน
วิสุงคามสีมา ฯ
๙. ๙.๑ ต้องมีคุณสมบัติ ๕ ประการ ได้แก่ปราศจากอคติ ๔ คือ
๑. ฉันทาคติ ลำเอียงเพราะรักใคร่
๒. โทสาคติ ลำเอียงเพราะเกลียดชัง
๓. ภยาคติ ลำเอียงเพราะกลัว
๔. โมหาคติ ลำเอียงเพราะหลงงมงาย
๕. เข้าใจในการปฏิบัติหน้าท2ีนัน" ๆ เป็ นอย่างดี
๙.๒ มี ๕ แผนก คือ เจ้าอธิการแห่งจีวร ๑ เจ้าอธิการแห่งอาหาร ๑ เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ ๑
เจ้าอธิการแห่งอาราม ๑ และเจ้าอธิการแห่งคลัง ๑
๑๐. ๑๐.๑ ภัตรมีนิยมต่าง มี ๔ คือ
๑. อาคันตุกภัตร อาหารที2เขาถวายเฉพาะภิกษุอาคันตุกะ
๒. คมิยภัตร อาหารท2ีเขาถวายเฉพาะภิกษุผู้จะไปท2ีอ2ืน
๓. คิลานภัตร อาหารที2เขาถวายเฉพาะภิกษุอาพาธ
๔. คิลานุปัฏฐากภัตร อาหารท2ีเขาถวายเฉพาะภิกษุผู้พยาบาลภิกษุไข้
(และกุฏิภัตร อาหารท2ีเขาถวายเฉพาะภิกษุผู้อยู่ในกุฏิท2ีเขาสร้างถวาย อันท่านกล่าวไว้
ในอรรถกถา ) ฯ
๑๐.๒ เป็นหน้าท2ีของเจ้าของเจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ พึงปฏิบัติอย่างนี " คือ เจ้าอธิการแห่ง
เสนาสนะพึงกำหนดฐานะของภิกษุผู้ถือเสนาสนะว่า เป็ นผู้ใหญ่หรือผู้น้อย เป็นผู้มีอุปการะ
แก่สงฆ์หรือหามิได้ เป็นผู้เล่าเรียนหรือประกอบกิจในทางใดบ้างเป็นต้นแล้วหรือหามิได้
เป็นผู้เล่าเรียนหรือประกอบกิจในทางใดบ้างเป็นต้น แล้วพึงให้ถือเสนาสนะ ฯ

อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************************
๑. ๑.๑ ผ้าอันเป็นวัตถุแห่งกฐินมี ๕ อย่าง คืออะไรบ้าง ?๒๕๔๑
๑.๒ ภิกษุผู้กรานกฐิน ย่อมได้อานิสงส์ ๕ คืออะไรบ้าง ?๒๕๔๑
๒. ๒.๑ ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์คุณกี,ประการอะไรบ้างจึงควรเป็นผู้ครองกฐิน ?๒๕๔๐
๒.๒ ทรงอนุญาตให้กรานกฐินได้เมื,อใด ?๒๕๓๖
๓. ๓.๑ อภัพพบุคคลในอุปสมบทกรรมได้แก่บุคคลเช่นไร โดยวัตถุมีกี,อย่างอะไรบ้าง ?๒๕๔๔
๓.๒ ปัจฉิมกิจแห่งการอุปสมบทมีอะไรบ้าง ตอบเพียง ๒ ข้อ ?๒๕๔๔
๔. ๔.๑ วิวาทาธิกรณ์คืออะไร ?๒๕๔๔
๔.๒ วิวาทาธิกรณ์ ระงับด้วยอธิกรณ์สมถะกี,อย่าง อะไรบ้าง ?๒๕๔๔
๕. ๕.๑ คนที,ควรได้รับอุปสมบทประกอบด้วยองค์คุณอย่างไรบ้าง ?๒๕๔๒
๕.๒ ภิกษุผู้สวดกรรมวาจาเป็นคู่ มีทางสันนิษฐานอย่างไร ?๒๕๔๒
๖. ๖.๑ ทางที,จะให้สงฆ์แตกแยกกันมีกี,ประการ คืออะไร?๒๕๔๒
๖.๒ วิวาทาธิกรณ์ ระงับด้วยการตกลงกันเองมีอย่างไร ?๒๕๔๒
๗. ๗.๑ บุคคลที,ถูกห้ามบวช แต่บวชโดยไม่รู้ จะพึงแก้อย่างไร ?๒๕๔๒
๗.๒ การบวชด้วยไตรสรณคมน์ อาจแบ่งออกเป็น ๒ ตอน ตอนไหนเป็น
การบวชเช่นไร ?๒๕๔๑
๘. ๘.๑ อันตราบัติ ได้แก่อาบัติเช่นไร อธิบาย ?๒๕๔๐
๘.๒ พระภิกษุต้องอันตราบัติแล้ว ต้องปฏิบัติอย่างไร?๒๕๔๐
๙. ๙.๑ วิวาทาธิกรณ์ในฝ่ายที,ทำด้วยความปรารถนาเลว แสดงว่ามีลักษณะประกาอบด้วยโทษมีกี,คู่
จงบอกคู่แรกและคู่สุดท้ายมาดู ?๒๕๓๙
๙.๒ สงฆ์สมมติภิกษุรูปหนึ,งผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ เป็นผู้จับฉลากถือคะแนนเพ,ือวินิจฉัยอธิกรณ์
ด้วยเยภุยยสิกา องค์ ๕ มีอะไรบ้าง ?๒๕๓๙
๑๐. ๑๐.๑ การบรรพชาหมายถึงอะไร ?๒๕๓๖
๑๐.๒ การบอกอนุศาสน์คือการบอกอะไร?๒๕๓๖
เฉลยวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๒๖ – ๒๘
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************************
๑. ๑.๑ ผ้าอันเป็นวัตถุแห่งกฐินมี ๕ คือ
๑.ผ้าใหม่ ๒.ผ้าเทียมใหม่ ๓.ผ้าเก่า
๔.ผ้าบังสกุล ๕.ผ้าตกตามร้าน
๑.๒ ย่อมได้อานิสงส์ ๕ ประการ คือ
๑.เที,ยวไปไม่ต้องบอกลาตามสิกขาบทที, ๖ แห่งอเจลกวรรค
๒.เที,ยวจาริกไปไม่ต้องถือเอาไตรจีวรไปครบสำรับ
๓.ฉันคณโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้
๔.เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา
๕.จีวรอันเกิดขึDนในท,ีนัDน เป็นของได้แก่พวกเธอ
๒. ๒.๑ ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์คุณ ๘ ประการ ควรเป็นผู้ครองกฐิน คือ
๑. รู้จักบุพพกรณ์ ๒. รู้จักถอนไตรจีวร
๓. รู้จักอธิษฐานไตรจีวร ๔. รู้จักการกราน
๕. รู้จักมาติกา คือ หัวข้อแห่งการเดาะกฐิน ๖. รู้จักปริโพธกังวลเป็นเหตุไม่เดาะกฐิน
๗. รู้จักการเดาะกฐิน ๘. รู้จักอานิสงส์กฐิน
๒.๒ ทรงอนุญาตให้กรานกฐินในท้ายฤดูฝนระยะเวลา ๑ เดือน คือ ตัDงแต่แรม ๑ คํ,า เดือน ๑๑
ถึงวันขึDน ๑๕ คํ,า เดือน ๑๒
๓. ๓.๑ ได้แก่บุคคลท,ีไม่สมควรแก่อุปสมบท อุปสมบทไม่ขึDน ถูกห้ามตลอดชีวิต โดยวัตถุมี ๓ คือ
๑. พวกที,มีเพศบกพร่อง ไม่รู้ว่าเป็นชายหรือเป็นหญิง
๒. พวกประพฤติผิดพระธรรมวินัย เช่น ฆ่าพระอรหันต์เป็นต้น
๓. พวกประพฤติผิดต่อกำเนิดของตน คือ ฆ่าบิดามารดา
๓.๒ มี ๖ ข้อคือ ๑. วัดเงาแดดในทันที ๒. บอกประมาณแห่งฤดู
๓. บอกส่วนแห่งวัน ๔. บอกสังคีติ
๕. บอกนิสสัย ๖. บอกอกรณียกิจ ๔
๔. ๔.๑ วิวาทาธิกรณ์ คืออธิกรณ์ที,เกิดจากการทะเลาะกัน โต้เถียงกัน โดยปรารภพระธรรมวินัย
๔.๒ วิวาทาธิกรณ์นัDนระงับด้วยอธิกรณสมถะ ๒ อย่างคือ
๑. สัมมุขาวินัย ๒. เยภุยยสิกา
๕. ๕.๑ คนที,ควรได้รับอุปสมบทต้องประกอบด้วยองค์คุณ ๓ คือ
๑. ต้องเป็นผู้ชาย
๒. มีอายุครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์
๓. มิใช่อภัพพบุคคลผู้ถูกห้ามเด็ดขาด
๕.๒ มีทางสันนิษฐานดังนีD
๑. ธรรมเนียมสวดอย่างอื,น มีสวดภาณวารเป็นต้น สวดทีละคู่
๒. สวดรูปเดียวอาจจะตกหล่น สวดคู่คงตกหล่นไม่พร้อมกัน เป็นอันทานกันอยู่ในตัว
รูปหนึ,งอาจพลาดเป็นล่ม
๓. เน,ืองมาจากอุปสมบทคราวละคู่ สวดรูปหนึ,ง สวดกรรมวาจาสำหรับอุปสัมปทา
เปกขะรูปหนึ,ง
๖. ๖.๑ มี ๒ ทาง คือ
๑. มีความเห็นปรารภธรรมวินัยต่างกัน จนเกิดวิวาทกันขึDน
๒. มีความเห็นไม่เสมอกัน ยิง, หย่อนกว่ากัน เกิดรังเกียจกันขึDน
๖.๒ มีอย่างนีDคือ
๑. สังฆสัมมุขา ความเป็นต่อหน้าสงฆ์
๒. ธัมมสัมมุขา ความเป็นต่อหน้าธรรม
๓. วินยสัมมุขา ความเป็นต่อหน้าวินัย
๔. ปุคคลสัมมุขา ความเป็นต่อหน้าบุคคล
๗. ๗.๑ บุคคลที,ถูกห้ามบวช แต่บวชโดยไม่รู้พึงแก้ไขด้วยนาสนา คือขับออกไปเสีย
๗.๒ ตอนที, ๑ การให้ครองผ้ากาสายะ เป็นการให้บรรพชา
๒. การให้สรณคมน์ เป็นการให้อุปสมบท
๘. ๘.๑ อันตราบัติ ได้แก่ภิกษุกำลังประพฤติปริวาสอยู่ หรือประพฤติปริวาสเสร็จแล้วกำลัง
ประพฤติมานัตอยู่ หรือประพฤติมานัตเสร็จแล้ว สงฆ์ยังไม่ได้อัพภานเพียงใด
พระภิกษุรูปนัDนต้องครุกาบัติขึDนใหม่ในระหว่างนัDน อาบัติเช่นนัDนเรียกว่าอันตราบัติ
๘.๒ พระภิกษุต้องอันตราบัติแล้ว วุฏฐานวิธีที,ได้ประพฤติมาเสียหมด จะประพฤติตามเดิม
ต่อไม่ได้ต้องกลับประพฤติวุฏฐานวิธีนัDนตัDงต้นใหม่ เรียกว่า มูลายปฏิกัสสนา แปลว่าชัก
เข้าหาอาบัติเดิม ต้องปฏิบัติอย่างนีDจึงจะถูกต้อง
๙. ๙.๑ วิวาทาธิกรณ์ฝ่ายที,ทำด้วยความปรารถนาเลว มีลักษณะที,ประกอบด้วยโทษ ๖ คู่
คู่แรกคือ เป็นผู้มักโกรธ เป็นผู้ถือโกรธ ได้แก่โกรธง่ายหายยาก
คู่สุดท้าย คือ เป็นผู้ถือเอาแต่ความเห็นของตน ถืออย่างแน่นแฟ้น ปลดได้ยาก
๙.๒ องค์ ๕ นัDน คือ ๑. ไม่ถึงฉันทาคติ ๒. ไม่ถึงโทสาคติ
๓. ไม่ถึงโมหาคติ ๔. โม่ถึงภยาคติ
๕. รู้จักสลากที,เป็นอันดับจับและไม่อันจับ
๑๐. ๑๐.๑ การบรรพชาหมายถึงการบวชทัว, ไป รวมทัDงอุปสมบทด้วยก็มี หมายเอาการบวชเฉพาะ
บุพประโยคแห่งการอุปสมบท รวมทัDงบวชลำพังเป็นสามเณรก็มี
๑๐.๒ การบอกอนุศาสน์ คือการบอกนิสัย ๔ เป็นการบอกทางแสวงหาปัจจัย ๔ พร้อมทัDง
อดิเรกลาภ และการบอกอกรณียกิจ ๔ เป็นการบอกกิจที,ห้ามมิให้ทำ เพราะทำแล้ว
ขาดจากความเป็นภิกษุ

ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๒๙–๓๐
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
******************************
๑. ๑.๑ วุฏฐานวิธี แปลว่าอะไร ประกอบด้วยอะไรบ้าง ? ๒๕๔๔
๑.๒ ในการทำวุฏฐานวิธีแต่ละอย่างนัน$ ต้องการสงฆ์จำนวนเท่าไร ? ๒๕๔๔
๒. ๒.๑ ปฏิจฉันนาบัติ และอันตราบัติ มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๔๓
๒.๒ สัมมุขาวินัย มีองค์เท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๓. ๓.๑ มูลแห่งอนุวาทมีเท่าไร บอกมาให้ครบ ? ๒๕๔๑
๓.๒ ผู้วินิจฉัยอนุวาทมีเท่าไร บอกมาให้ครบ ? ๒๕๔๑
๔. ๔.๑ มานัต มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๔๐
๔.๒ อัพภาน มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๔๐
๕. ๕.๑ อาปัตตาธิกรณ์คืออะไร มีกี7ประเภท อะไรบ้าง ? ๒๕๓๙
๕.๒ สังฆราชี กับ สังฆเภท ต่างกันอย่างไร ? ๒๕๓๙
๖. ๖.๑ กัมมารหะ มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๓๗
๖.๒ กัมมปัตตะ มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๓๗
๗. ๗.๑ ความเห็นอย่างไรเรียกว่าทิฏฐาวิกัมม์ ? ๒๕๓๕
๗.๒ วุฏฐานวิธีนัน$ ต้องปรารถนาสงฆ์เท่าไรเป็นอย่างน้อย ? ๒๕๓๕
๘. ๘.๑ ภิกษุประพฤติอย่างไรเป็นเหตุให้เสียสีลสามัญญตา ? ๒๕๓๕
๘.๒ วิวาทาธิกรณ์ กับ อนุวาทาธิกรณ์ ต่างกันอย่างไร ? ๒๕๓๖
๙. ๙.๑ อัปปฏิจฉันนาบัติ มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๓๗
๗.๒ ติณวัตถารกวินัย มีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๓๗
๑๐. ๑๐.๑ ลหุกาบัติ ได้แก่อาบัติเช่นไร ? ๒๕๓๗
๑๐.๒ ภิกษุผู้ทำหน้าท7ีพิจารณาคดี มีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง ? ๒๕๓๗
----------------------------------------------
.
เฉลยวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๒๙–๓๐
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*******************************
๑. ๑.๑ วุฏฐานวิธี แปลว่าระเบียบเป็นเครื7องออกจากอาบัติ ประกอบด้วย
ปริวาส มานัต ปฏิกัสสนา และอัพภาน
๑.๒ การให้ปริวาส มานัติ และทำปฏิกัสสนา ต้องการสงฆ์จตุวรรค การให้
อัพภาน ต้องการสงฆ์สติวรรค
๒. ๒.๑ ปฏิจฉันนาบัติ หมายถึง อาบัติที7ภิกษุต้องแล้วปกปิดไว้
อันตราบัติ หมายถึง อาบัติสังฆาทิเสสที7ภิกษุต้องเข้าอีกระหว่าง
ประพฤติวุฏฐานวิธี
๒.๒ สัมมุขาวินัย มีองค์ ๔ คือ
๑. ในที7พร้อมหน้าสงฆ์ ๒. ในที7พร้อมหน้าธรรม
๓. ในที7พร้อมหน้าวินัย ๔. ในที7พร้อมหน้าบุคคล
๓. ๓.๑ มูลแห่งอนุวาทมี ๓ คือ
๑. เรื7องที7ได้เห็นเอง
๒. เร7ืองท7ีได้ยินเองหรือมีผู้มาบอก และเช7ือว่าเป็นจริง
๓. เรื7องที7รังเกียจโดยอาการ
๓.๒ ผู้วินิจฉัยอนุวาทมี ๓ คือ
๑. สงฆ์ (สำหรับเรื7องสำคัญ
๒. คณะ (สำหรับเรื7องไม่สำคัญนัก)
๓. บุคคล (สำหรับเรื7องเล็กน้อย)
๔. ๔.๑ มานัติ แปลว่านับราตรี เป็นช7ือของวัตรท7ีภิกษุผู้ต้องสังฆาทิเสสจะพึง
ประพฤติเพ7ือออกจากอาบัตินัน$
๔.๒ อัพภาน แปลว่า เรียกเข้าหมู่ เป็นช7ือของกรรมท7ีสงฆ์จะพึงทำแก่ภิกษุผู้
ประพฤติครบกำหนดแล้ว
๕. ๕.๑ อาปัตตาธิกรณ์ คือ อาบัติทัง$ หลายอันพระภิกษุต้องแล้วจำจะต้องทำคืน
คือจำจะต้องปลดเปลือ$ งเสีย มี ๒ ประเภท คือ ๑. ลหุกาบัติ ได้แก่
อาบัติเบา ๒. ครุกาบัติ ได้แก่อาบัติหนัก
๕.๒ สังฆราชี คือเพียงแต่ทะเลาะวิวาทกัน แต่ยังไม่แยกกัน ทำอุโบสถ
ปวารณาและทำสังฆกรรมต่างๆ คือยังรวมกันได้อยู่
สังฆเภท หมายถึง สงฆ์แยกกันทำอุโบสถทำปวารณา และสังฆกรรม
ต่างๆแล้ว
๖. ๖.๑ กัมมารหะ ได้แก่บุคคลผู้ถูกทำกรรม เช่นภิกษุผู้ถูกสมมติเป็นเจ้าหน้าท7ี
ทำการสงฆ์ เป็นต้น
๖.๒ กัมมปัตตะ ได้แก่ภิกษุผู้เข้าในจำนวนสงฆ์ผู้ทำกรรมทุกประการ
๗. ๗.๑ ความเห็นแย้ง คือไม่เห็นร่วมด้วยคำวินิจฉัยอันสงฆ์รับรอง เรียกว่า
ทิฏฐาวิกัมม์ แปลว่าทำความเห็นให้แย้ง
๗.๒ อัพภาน ต้องปราถนาสงฆ์อย่างน้อยไม่ตํ7ากว่า ๒๐ รูป กิจอื7นนอกจาก
อัพภานเพียง ๔ รูปเป็นอย่างน้อย
๘. ๘.๑ ภิกษุต้องอาบัติแล้วไม่ยอมรับว่าต้อง หรือไม่ยอมทำคืน ย่อมเป็นเหตุ
ให้เสียสีลสามัญญตา
๘.๒ วิวาทอันเกิดขึน$ เพราะปรารภพระธรรมวินัย จัดเป็ นวิวาทาธิกรณ์ ส่วน
การโจทย์กันด้วยอาบัติ จัดเป็นอนุวาทาธิกรณ์
๙. ๙.๑ อัปปฏิจฉันนาบัติ ได้แก่ อาบัติสังฆาทิเสสที7ภิกษุต้องเข้าแล้วแต่มิได้ปิดบังเอาไว้
๙.๒ ติณวัตถารกวินัย ได้แก่การไม่สะสางถึงความหลังว่า ใครเป็นผู้ทำผิด
อะไร ยกเลิกเรื7องราวกันไปดุจกลบสิ7งของไว้ด้วยหญ้า
๑๐. ๑๐.๑ ลหุกาบัติ ได้แก่อาบัติเล็กน้อย ท7ีผู้ต้องจะระงับได้ในสำนักบุคคล
๑๐.๒ ภิกษุผู้ควรทำหน้าท7ีพิจารณาคดี มีคุณสมบัติดังนี $
๑. เป็นผู้มีศีล เป็นพหูสูต ทรงพระปาฏิโมกข์ สามารถแจงให้คู่ความ
เข้าใจ และเลื7อมใสได้
๒. เป็นผู้มีกายสมาจาร วจีสมาจารบริสุทธ์ มีอาชีวบริสุทธิI เป็นบัณฑิต
ฉลาดเฉลียวสามารถชีแ$ จงข้อความท7ีถูกซักถามได้
๓. รู้วัตถุ รู้นิทาน รู้พระบัญญัติ รู้บทท7ีตกภายหลัง รู้คลองแห่งถ้อยคำที
เชื7อมต่อกันได้
๔. รู้พระธรรมวินัย และอนุโลม ฉลาดในฐานะ อฐานะ ฉลาดในอรรถะ
และพยัญชนะ ฉลาดในวินิจฉัย


ปัญหาวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๓๑ - ๓๓
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
**************************
๑. ๑.๑ การคํ าบาตรในทางพระวินัยมีความหมายว่าอย่างไร ? ๒๕๔๓
๑.๒ การคํ าบาตรนี สงฆ์ทำแก่ผู้ประพฤติเช่นไร บอกมา ๓ ข้อ ? ๒๕๔๓
๒. ๒.๑ สงฆ์พึงทำตัชชนียกรรมและตัสสปาปิยสิกากรรมแก่ภิกษุผู้ประพฤติเช่นไร ? ๒๕๓๕
๒.๒ สงฆ์จะนิคคหะภิกษุก็ดี คฤหัสถ์ก็ดี ด้วยกรรมทั งหลาย หรือด้วยอาณาสงฆ์ท ีเทียบกรรม
เหล่านั น จะพึงตั งอยู่ในธรรมอะไรบ้าง จึงจะไม่เป็นไปเพ ือแตกสามัคคี ? ๒๕๒๔
๓. ๓.๑ อุกเขปนียกรรม คือกรรมเช่นไร สงฆ์ควรทำแก่ภิกษุผู้ประพฤติอย่างไร ?
๓.๒ และได้ทำแก่ใครเป็นครั งแรก ?
๔. ๔.๑ ปัพพาชนียกรรม แปลว่าอะไร สงฆ์ควรทำแก่ผู้ประพฤติเช่นไร ?
๔.๒ กรรมนี สงฆ์ทำแก่ใครเป็นครั งแรก ?
๕. ๕.๑ ใครเป็นผู้ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน หรือเป็นผู้ขวนขวายเพื อทำลายสงฆ์ได้ ? ๒๕๔๓
๕.๒ เหตุที สงฆ์จะแตกกันมีอะไรบ้าง ? จะป้องกันได้ด้วยวิธีอย่างไร ? ๒๕๔๓
๖. ๖.๑ วัตถุ ๕ อย่าง ที พระเทวทัตทูลขอต่อพระพุทธเจ้า แต่พระองค์ไม่ทรงอำนวยคืออะไรบ้าง ? ๒๕๒๔
๖.๒ อาการที สงฆ์จะแตกกัน ในคัมภีร์บริวารท่านกล่าวไว้กี ประการ อะไรบ้าง ?
๗. ๗.๑ การลาสิกขาคืออะไร ? ๒๕๓๘
๗.๒ คำปฏิญญาลาสิกขามีขอบเขตที ควรกล่าวอ้างถึงอย่างไรบ้าง ? ๒๕๓๘
๘. ๘.๑ นาสนา คืออะไร มีกี อย่าง บอกมาให้ครบ ? ๒๕๓๘
๘.๒ ผู้ควรถูกนาสนาคือใครบ้าง ? ๒๕๓๘
๙. ๙.๑ ทัณฑกรรมคืออะไร ผู้ควรได้รับทัณฑกรรมคือใคร ? ๒๕๓๘
๙.๒ ทรงอนุญาตให้ลงทัณฑกรรมแก่ผู้ประกอบด้วยองค์อันเป็นโทษ ๕ ประการ มีอะไรบ้าง ?
๑๐. ๑๐.๑ ทัณฑกรรม กับ พรหมทัณฑ์ ต่างกันอย่างไร ? ๒๕๓๖
๑๐.๒ ประณามแปลว่าอะไร มีวิธีทำอย่างไรบ้าง ? ๒๕๓๘
**************************
เฉลยวินัยมุข นักธรรมชั นเอก
กัณฑ์ที ๓๑ - ๓๓
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
**************************
๑. ๑.๑ มีความหมายว่าไม่ให้คบค้าสมาคมด้วยลักษณะ ๓ ประการคือ
๑. ไม่รับบิณฑบาตของเขา ๒. ไม่รับนิมนต์ของเขา
๓. ไม่รับไทยธรรมของเขา ฯ
๑.๒ ทำแก่คฤหัสถ์ (เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ )
๑. ขวนขวายเพ ือไม่ใช่ลาภแห่งภิกษุทั งหลาย
๒. ขวนขวายเพ ือไม่ใช่ประโยชน์แห่งภิกษุทั งหลาย
๓. ขวนขวายเพ ืออยู่ไม่ได้แห่งภิกษุทั งหลาย ๔. ด่าว่าเปรียบเปรยภิกษุทั งหลาย
๕. ยุยงภิกษุทั งหลายให้แตกกัน ๖. กล่าวติเตียนพระพุทธ
๗. กล่าวติเตียนพระธรรม ๘. กล่าวติเตียนพระสงฆ์
๒. ๒.๑ ตัชชนียกรรม สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้โจทจงใจหาความเท็จใส่ภิกษุอ ืนได้ช ือว่าก่ออธิกรณ์ขึ นใน
สงฆ์ ตัสสปาปิยสิกากรรม สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้เป็นจำเลยผู้ปกปิดความประพฤติเสียหายของ
ตนด้วยให้การเท็จ
๒.๒ สงฆ์จะทำนิคคหะภิกษุก็ดี คฤหัสถ์ก็ดี ด้วยกรรมหรือด้วยอาณาสงฆ์ท ีเทียบกรรมนั น พึงตั ง
อยู่ในธรรมคือ มัตตัญBุตา ความเป็นผู้รู้จักประมาณ กาลัญBุตา ความเป็นผู้รู้จักกาล
ปุคคลัญBุตา ความเป็นผู้รู้จักบุคคล ดำริโดยรอบคอบแล้วจึงทำจึงจะไม่เป็นไปเพื อแตก
สามัคคี
๓. ๓.๑ อุกเขปนียกรรม คือ กรรมที สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุอันจะพึงยกเสีย หมายถึงวิธีการลงโทษที สงฆ์พึง
กระทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้วไม่ย่อมรับว่าตนต้องอาบัติ หรือไม่ยอมทำคืนอาบัติ และมีความ
คิดเห็นอย่างชัว สงฆ์ตักเตือนก็ไม่ยอมสละความคิดเห็นนั น ทำโดยการตัดสิทธิชัว คราวไม่ให้ฉัน
ร่วมและอยู่ร่วมกับคณะสงฆ์
๓.๒ สงฆ์ทำครั งแรกแก่พระฉันนะ โทษฐานเพราะไม่เห็นอาบัติ และไม่ทำคืนอาบัติ และทำแก่พระ
อริฏฐะ โทษฐานไม่สละความคิดเห็นอันชัว
๔. ๔.๑ ปัพพาชนียกรรม แปลว่ากรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ภิกษุอันพึงไล่ออกไปเสียจากอาวาส สงฆ์ควรทำ
ปัพพาชนียกรรมนี แก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายสกุล และประพฤติทรามจนตกเป็นข่าวเซ็งแซ่ หรือข่าวลือ
๔.๒ กรรมนี สงฆ์ได้ทำแก่พระอัสสชิและพระปุนัพพสุกะเป็นครั งแรก
๕. ๕.๑ ภิกษุผู้ปกตัตตะเป็นสมานสังวาส อยู่ในสีมาเดียวกันเท่านั น ย่อมอาจทำลายสงฆ์ให้แตกกัน
เป็นก๊กเป็นพวกได้ นางภิกษุณี สิกขมานา สามเณร สามเณรี อุบาสก อุบาสิกา หาอาจ
ทำลายสงฆ์ให้แตกกันได้ไม่ เป็นได้เพียงขวนขวายเพ ือทำลายสงฆ์เท่านั น ฯ
๕.๒ มี ๒ อย่างคือ
๑. มีความเห็นปรารภพระธรรมวินัยแตกต่างกันจนเกิดเป็นอธิกรณ์
๒. ความประพฤติปฏิบัติไม่เสมอกัน ยิง หย่อนกว่ากันแล้วเกิดความรังเกียจกันขึ น
จะป้องกันได้ด้วย ๒ วิธี คือ
๑. ต้องส่งเสริมและกวดขันการศึกษาพระธรรมวินัย ให้มีความเห็นชอบเหมือนกัน
๒. ต้องส่งเเสริมและกวดขันความประพฤติของภิกษุทั งหลายให้เสมอกันไม่ให้เป็นทางรัง
เกียจกัน ฯ
๖. ๖.๑ วัตถุ ๕ อย่าง ท ีพระเทวทัตทูลขอ แต่พระองค์ไม่ทรงอำนวยนั น คือ
๑. ภิกษุผู้ถืออยู่ป่ า จงถือให้ตลอดชีวิต เข้าบ้านมีโทษ
๒. ภิกษุผู้ถือบิณฑบาต จงถือให้ตลอดชีวิต รับนิมนต์มีโทษ
๓. ภิกษุผู้ถือทรงผ้าบังสุกุล จงถือให้ตลอดชีวิต รับคฤหบดีจีวรมีโทษ
๔. ภิกษุผู้ถืออยู่โคนต้นไม้ จงถือให้ตลอดชีวิต เข้าท ีมุงมีโทษ
๕. ภิกษุจงอย่าฉันปลาฉันเนื อ ตลอดชีวิต ฉันมีโทษ ฯ
๖.๒ อาการที สงฆ์จะแตกกันในคัมภีร์บริวารท่านกล่าวไว้ ๕ ประการ คือ
๑. ด้วยกรรม ได้แก่ทำสังฆกรรม
๒. ด้วยอุทเทส ได้แก่สวดประปาฏิโมกข์
๓. ด้วยโวหาร ได้แก่ตั งญัตติ
๔. ด้วยอนุสาวนา ได้แก่ประกาศด้วยกรรมวาจา
๕. ด้วยการให้จับสลาก ได้แก่ให้ลงคะแนนชี ขาด
๗. ๗.๑ การลาสิกขา คือการปฏิญญาตนเป็นผู้อื นจากภิกษุ ต่อหน้าภิกษุด้วยกัน แล้วสละเพศภิกษุ
เสียและถือเอาเพศท ีตนปฏิญญานั น ท่านอนุญาตให้ปฏิญญาต่อหน้าคนอ ืนท ีมิใช่ภิกษุได้ด้วย
๗.๒ คำปฏิญญาลาสิกขา มีขอบเขตท ีควรกล่าวอ้างถึง ดังนี
๑. ลาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ สิกขา วินัย ปาติโมกข์ อุทเทศ อุปัชฌายะ อาจารย์
ลัทธิวิหาริก อันเตวาสิก สมานุปัชฌายะ (ผู้ร่วมอุปัชฌาย์) สมานาจริยกะ (ผู้ร่วม
อาจารย์) สพรหมจารี ทั งนี การบอกลาสิกขา วินัย ปาติโมกข์ อุทเทส ย่อมสำเร็จ
ความเข้าใจว่าลาจากความเป็นภิกษุ นอกนั นถือเป็นส่วนประกอบได้
๒. ปฏิญญาตนเป็นคฤหัสถ์ อุบาสก อารามิก สามเณร เดียรถีย์ หรือสาวกเดียรถีย์
อย่างใดอย่างหนึ ง
๓. ปฏิเสธความเป็นสมณะสักยปุตติยะ
๔. แสดงความไม่ต้องการหรือไม่เกี ยวข้องด้วยวัตถุที เป็นขอบเขตลา (ที กล่าวในข้อ ๑)
อย่างใดอย่างหนึ ง ฯ
๘. ๘.๑ นาสนา แปลว่า ทำให้ฉิบหายเสีย หมายถึงการบังคับผู้ไม่ควรถือเพศให้ละเพศเสีย
นาสนามี ๓ จำพวก คือ ๑. ลิงคนาสนา ให้ฉิบหายจากเพศ
๒. สัมโภคนาสนา ให้ฉิบหายจากการกินร่วม
๓. สังวาสนาสนา ให้ฉิบหายจากสังวาส (คือการอยู่ร่วมกัน)
๘.๒ ผู้ควรถูกนาสนามี ๓ จำพวก คือ
๑. ภิกษุต้องอันติมวัตถุแล้ว ยังปฏิญญาตนเป็นภิกษุอยู่
๒. บุคคลท ีอุปสมบทไม่ขึ น แต่ได้รับการอุปสมบทจากสงฆ์
๓. สามเณรผู้ประพฤติผิดมีองค์ ๑๐ ฯ
๙. ๙.๑ ทัณฑกรรม คือ การลงโทษสามเณรท ีมีความผิดอย่างเบาไม่ถึงขั นนาสนา เช่น การกักบริเวณ
(ห้ามเข้า หรือห้ามอออกบริเวณท ีกำหนด) หรือให้ทำงาน มีตักน ำขนฟืน ขนทราย เป็นต้น
เพื อให้เข็ดหลาบ
๙.๒ ทรงอนุญาตให้ลงทัณฑกรรมแก่สามเณรผู้ประกอบด้วยองค์อันเป็นโทษ ๕ ประการ คือ
๑. ขวนขวายเพ ือไม่ใช่ลาภแห่งภิกษุทั งหลาย ๔. ด่าว่าเปรียบเปรยภิกษุทั งหลาย
๒. ขวนขวายเพ ือไม่ใช่ประโยชน์แห่งภิกษุทั งหลาย ๕. ยุยงภิกษุทั งหลายให้แตกกัน
๓. ขวนขวายเพ ืออยู่ไม่ได้แห่งภิกษุทั งหลาย
๑๐. ๑๐.๑ ทัณฑกรรมได้แก่การลงโทษสามเณรที มีความผิดชนิดเบา เช่น กักบริเวณ ให้กวาดลานวัด
เป็นต้น เพื อให้เข็ดหลาบ พรหมทัณฑ์ได้แก่การลงโทษอย่างสูง เช่นอปโลกน์สงฆ์ไม่ให้ว่า
กล่าวตักเรือน ปล่อยให้ปรากฏด้วยกรรมของตนเอง
๑๐.๒ ประณาม แปลว่าการผลักออก ได้แก่ การตัดผู้ประพฤติมิชอบ ไม่คบหาสมาคมด้วย มีวิธีทำ
คือ การประณามนั นทรงอนุญาตให้ทำแก่สหธรรมิกก็มี แก่คฤหัสถ์ก็มี ให้ทำเป็นการสงฆ์ก็มี
กล่าวคือ การลงอุกเขปนียกรรมแก่ภิกษุเพราะไม่เห็นอาบัติ เพราะไม่ละทิฏฐิบาป หรือการลง
พรหมทัณฑ์ด้วยอปโลกนกรรม ถือว่าเป็นการประณามภิกษุเป็นการสงฆ์ การควำ บาตรแก่
อุบาสกผู้ประกอบด้วยองค์โทษ ๘ อย่าง ถือว่าเป็นการประณามคฤหัสถ์เป็นการสงฆ์
สัทธิวิหาริกและอันเตวาสิก ผู้ประกอบด้วยอังค์อันเป็นโทษ ทรงอนุญาตให้อุปัชฌาย์และ
อาจารย์ประณามเป็นการบุคคล ฯ



















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น