วันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2558

อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ปัญหาธรรมวิภาค นักธรรมชั นโท

ปัญหาธรรมวิภาค นักธรรมชั นโท
หมวดที ๒ - ๓
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
***********************************
๑. ๑.๑ กาม และกามคุณ มีอธิบายอย่างไร ? ๒๕๔๔
๑.๒ รูป เสียง กลิ น รส โผฏฐัพพะ ทั&ง ๕ นี& เพราะเหตุไรจึงเรียกว่ากามคุณ ? ๒๕๔๔
๒. ๒.๑ กรรมฐาน ๒ มีอะไรบ้าง มีอธิบายอย่างไร ? ๒๕๔๒
๒.๒ การทำใจให้นิ งคือมีอารมณ์เดียวจัดเป็นอะไร มีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๓. ๓.๑ บูชามีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๐
๓.๒ การบูชาอย่างไหนนับว่าเป็นเลิศ เพราะเหตุไร ? ๒๕๔๐
๔. ๔.๑ วิการในอุปาทายรูปมีกี อย่าง บอกมาให้ครบ ? ๒๕๓๙
๔.๒ ลักษณะในอุปาทายรูปมีกี อย่าง อะไรบ้าง ตอบมาให้ครบ ? ๒๕๓๘
๕. ๕.๑ พระเสขะ ผู้ยังต้องศึกษานั&น คือศึกษาเร ืองอะไร ? ๒๕๔๑
๕.๒ อุจเฉททิฏฐิ กับนัตถิกทิฏฐิ เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร ? ๒๕๔๑
๖. ๖.๑ สังขาร ๓ คืออะไรบ้าง ? ๒๕๔๒
๖.๒ ท ีช ือว่าสังขารเช่นนั&น เพราะอะไร ? ๒๕๔๒
๗. ๗.๑ อนุตตริยะมีอะไรบ้าง ความพ้นจากกิเลสอาสวะเป็นอกุปปธรรม จัดเป็นอนุตตริยะอย่าง
ไหน ? ๒๕๔๑
๗.๒ ปรีชาหยั งรู้อะไรจัดเป็นกิจจญาณ ? ๒๕๔๓
๘. ๘.๑ คำว่าปิฎก แปลว่าอะไร ปิฎกในทางธรรมมีกี อย่างอะไรบ้าง ? ๒๕๔๐
๘.๒ ความเป็นใหญ่ใครก็ชอบ พระพุทธศาสนาได้วางหลักนี&ไว้อย่างไร ? ๒๕๔๐
๙. ๙.๑ พระโสดาบัน ๓ ได้แก่ใครบ้าง ? ๒๕๓๙
๙.๒ กุศลวิตกมีเท่าไร บอกมาให้ครบ ? ๒๕๓๙
๑๐. ๑๐.๑ พุทธจริยามีเท่าไร อะไรบ้าง ตอบมาให้ครบ ? ๒๕๓๘
๑๐.๒ วัฏฏะ ๓ คืออะไรบ้าง สัมพันธ์กันอย่างไร ? ๒๕๓๘
-----------------------------------------
เฉลยธรรมวิภาค นักธรรมชั นโท
หมวด ๒ - ๓
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
***********************************
๑. ๑.๑ กาม ได้แก่ ความใคร่ ความน่าปรารถนา ความพอใจ แบ่งเป็นกิเลสกามและวัตถุกาม
กามคุณ ได้แก่อารมณ์ที ปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ มี รูป เสียง กลิ น รส โผฏฐัพพะ
ซึ งเป็นวัตถุกามนัน เอง
๑.๒ รูป เสียง กลิ น รส โผฏฐัพพะ เรียกว่ากามคุณ เพราะเป็นกลุ่มแห่งกามและเป็นสิ งท ี
ให้เกิดความสุข ความพอใจได้
๒. ๒.๑ กรรมฐาน ๒ มี
๑. สมถกรรมฐาน กรรมฐานเป็นอุบายสงบใจ
๒. วิปัสสนากรรมฐาน กรรมฐานเป็นอุบายเรื องปัญญา
อธิบายว่า สมถกรรมฐานเป็นกรรมฐานเนื องด้วยบริกรรมอย่างเดียว ไม่เกี ยว
กับปัญญา ส่วนวิปัสสนากรรมฐาน เป็นกรรมฐานเนื องด้วยทัศนะทางใจ ปรารภ
สภาวธรรมและสามัญญลักษณะ
๒.๒ การทำใจให้นิ งมีอารมณ์เดียวจัดเป็นสมาธิ มี ๒ คือ
๑. อุปจารสมาธิ สมาธิเป็นแต่เฉียด ๆ
๒. อัปปนาสมาธิ สมาธิอย่างแน่วแน่
อธิบายว่า สมาธิอันยังไม่ดิ งลงไปแท้ เป็นแต่จวน ๆ จัดเป็นอุปจารสมาธิ
ส่วนสมาธิอันดิ งลงไปสุขุมกว่าอุปจารสมาธิ จัดเป็นอัปปนาสมาธิ
๓. ๓.๑ บูชามี ๒ อย่าง คือ อามิสบูชา ๑ และปฏิปัตติบูชา ๑
๓.๒ ปฏิปัตติบูชา นับว่าเป็นเลิศ เพราะพระพุทธศาสนาจะดำรงอยู่ได้นั&น ต้องอาศัยมี
ผู้ปฏิบัติตามคำสอนในพระพุทธศาสนา ถ้าไม่มีผู้ปฏิบัติ พระพุทธศาสนาก็ดำรงอยู่ได้
ไม่นาน ถึงแม้จะมีผู้บูชาด้วยอามิสมากสักเท่าไร ก็ไม่อาจทรงพระพุทธศาสนาไว้ได้
๔. ๔.๑ วิการในอุปาทายรูป มี ๓ คือ
ลหุตา ความเบา อธิบายว่า รูปของคนยังเป็น ไม่หนักดุจรูปของคนตาย ๑
มุทุตา ความอ่อนสลวย อธิบายว่า รูปยังปกติ มีลำข้อ อาจคู้หรือ
เหยียดคล่องแคล่ว ไม่แข็งกระด้างดุจรูปของคนเจ็บคนตายแล้ว ๑
กัมมัญญตา ความควรแก่การงาน คือ ความคล่องแคล่ว
๔.๒ ลักษณะในอุปาทายรูปมี ๔ คือ
๑. อุจจยะ ความรู้จักเติบขึ&น
๒. สันตติ ความสืบเน ืองกัน เช่น ขนเก่าหลุดร่วงไป ขนใหม่เกิดขึ&นแทน
๓. ชรตา ความรู้จักทรุดโทรม
๔. อนิจจตา ความไม่ยั งยืน
๕. ๕.๑ พระเสขะ ต้องศึกษาสิกขา ๓ คือ
๑. อธิสีลสิกขา ๒. อธิจิตสิกขา ๓. อธิปัญญาสิกขา
๕.๒ ต่างกัน อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นปฏิเสธเหตุผลในอนาคต เช่นเห็นว่าคนและสัตว์ตายแล้ว
สูญเป็นต้น ส่วนนัตถิกทิฏฐิ ความเห็นปฏิเสธเหตุผลในปัจจุบัน เช่น ปฏิเสธสมมติ
สัจจะและกัมมัสสกตา เป็นต้น ต่างกันดังว่ามานี&
๖. ๖.๑ สังขาร ๓ คือ
๑. กายสังขาร สภาพอันแต่งกาย
๒. วจีสังขาร สภาพอันแต่งวาจา
๓. จิตตสังขาร สภาพอันแต่งจิต
๖.๒ ลมอัสสาสะปัสสาสะ ได้ช ือว่า กายสังขาร เพราะปรนปรือกายให้เป็นอยู่ วิตกและ
วิจาร ได้ช ือว่า วจีสังขาร เพราะตริตรองแล้วพูด ไม่เช่นนั&นจักไม่เป็นภาษา สัญญากับ
เวทนา ได้ช ือว่า จิตตสังขาร เพราะเป็นเคร ืองยังจิตให้ตั&งอยู่ได้ ย้อมจิตให้มีประการ
ต่าง ๆ
๗. ๗.๑ อนุตตริยะ มี ๓ คือ
๑. ทัสสนานุตตริยะ ความเห็นอันเยี ยม
๒. ปฏิทานุตตริยะ ความปฏิบัติอันเยี ยม
๓. วิมุตตานุตตริยะ ความพ้นอันเยี ยม
ความพ้นจากกิเลสอาสวะเป็นอกุปปธรรม จัดเป็นวิมุตตานุตตริยะ
๗.๒ ปรีชาหยั งรู้ว่า ทุกข์เป็นธรรมชาติที ควรกำหนดรู้ ทุกขสมุทัยเป็นสภาพที ควรละเสีย
ทุกขนิโรธเป็นสภาพที ควรทำให้แจ้ง ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาเป็นธรรมชาติที ควรทำให้
เกิด จัดเป็นกิจจญาณ
๘. ๘.๑ คำว่า ปิฎก แปลว่า กระจาดหรือตะกร้า ปิฎกในทางธรรมมี ๓ คือ พระวินัยปิฎก ๑
พระสุตตันตปิฎก ๑ พระอภิธรรมปิฎก ๑
๘.๒ ความเป็นใหญ่พระพุทธศาสนาได้วางหลักไว้เป็น ๓ คือ
๑. อัตตาธิปเตยยะ ความมีตนเป็นใหญ่
๒. โลกาธิปเตยยะ ความมีโลกเป็นใหญ่
๓. ธัมมาธิปเตยยะ ความมีธรรมเป็นใหญ่
๙. ๙.๑ พระโสดาบัน ๓ คือ เอกพีชี ๑ โกลังโกละ ๑ สัตตักขัตตุปรมะ ๑
๙.๒ กุศลวิตกมี ๓ คือ
๑. เนกขัมมวิตก ความตริในทางพรากจากกาม
๒. พยาบาทวิตก ความตริในทางไม่พยาบาท
๓. อวิหิงสาวิตก ความตริในทางไม่เบียดเบียน
๑๐. ๑๐.๑ พุทธจริยามี ๓ คือ
๑. โลกัตถจริยา ทรงประพฤติเป็นประโยชน์แก่โลก
๒. ญาตัตถจริยา ทรงประพฤติเป็นประโยชน์แก่พระญาติ หรือโดยฐาน
เป็นพระญาติ
๓. พุทธัตถจริยา ทรงประพฤติเป็นประโยชน์โดยฐานเป็นพระพุทธเจ้า
๑๐.๒ วัฏฏะมี ๓ คือ
๑. กิเลสวัฏฏะ วนคือกิเลส
๒. กัมมวัฏฏะ วนคือกรรม
๓. วิปากวัฏฏะ วนคือวิบาก
สัมพันธ์กันอย่างนี& คือ กิเลสเม ือเกิดขึ&นแล้วทำกรรม ครั&นทำกรรมแล้ว ย่อม
ได้รับวิบากแห่งกรรม เม ือได้รับวิบากแล้ว กิเลสก็เกิดขึ&นอีก ทำกรรมอีก
วนไปอย่างนี&จนกว่าพระอรหัตตมรรคจะตัดกิเลสให้ขาดลงได้
-------------------------------------
ปัญหาธรรม นักธรรมชั
นโท
หมวด ๔ – ๕
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
*****************************
๑. ๑.๑ กิจในอริยสัจ ๔ มีเท่าไร ตอบมาให้ครบ ?๒๕๓๙
๑.๒ นิรุตติปฏิสัมภิทา และปฏิภาณปฏิสัมภิทา มีอธิบายอย่างไร ?๒๕๓๒
๒. ๒.๑ แผ่เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา อย่างไรให้เป็นพรหมวิหาร อย่างไรให้เป็น
อัปปมัญญาพรหมวิหารแปล่อย่างไร ? อย่างไหนเป็นปฏิสัมภิทาของภิกษุใน
ธรรมวินัยนี1 ?๒๕๓๒
๒.๒ เมตตา กับ ปราณี มีความหมายต่างกัน หรือเหมือนกันอย่างไร ? และอย่างไหน
เป็นสิ3งกำจัดอกุศลธรรมอะไร ?๒๕๓๓
๓. ๓.๑ โยนิ กำเนิด ๔ มีความหมายแตกต่างกันอย่างไร ? สัตว์เดรัจฉานจัดเข้าในกำเนิด
ไหน? ๒๕๔๑
๓.๒ สภาพท3ีเป็นประดุจกระแสน1ำท่วมใจสัตว์ได้ช3ือว่าอะไร ? มีเท่าไร ? บอกมาให้
ครบ ?๒๕๓๓
๔. ๔.๑ คำว่า อาหารได้แก่อะไร ? มีกี3อย่าง ? อะไรบ้าง ?๒๕๑๖
๔.๒ อาหารชนิดใด จัดเป็นกรรม? ๒๕๓๗
๕. ๕.๑ ขอทราบว่าจักษุ ๕ เป็นคุณสมบัติของพระผู้มีภาคเจ้าอย่างไร?๒๕๓๒
๖. ๖.๑ จงบอกมารทั1ง ๕ มาให้ครบ? ๒๕๓๗
๖.๒ เพราะเหตุใดปัญจขันธ์ชื3อว่ามาร ?๒๕๓๗
๗. ๗.๑ ปีติข้อที3 ๔ มีอธิบายว่าอย่างไร? ๒๕๔๑
๗.๒ สังวร หมายถึงอะไร? มีเท่าไร? อะไรบ้าง ?๒๕๔๑
๘. ๘.๑ อนุปุพพิกถา หมายถึงอะไร? มีเท่าไร?บอกมาให้ครบ?๒๕๔๑
๘.๒ ในมาร ๕ มารอะไร สำคัญที3สุด เพราะเหตุไร? ๒๕๓๗
๙. ๙.๑ มัจฉริยะมีเท่าไร อะไรบ้าง ? ๒๕๔๐
๙.๒ ตระหรี3ธรรม หมายความว่าอย่างไร? ๒๕๔๐
๑๐. ๑๐.๑ กรรมฝ่ายอกุศลจัดเป็นมารอะไรในมาร ๕ เพราะเหตุไรจึงได้ชื3อว่ามาร ?๒๕๔๔
๑๐.๒ สุทธวาสมีก3ีชั1น อะไรบ้าง เป็นท3ีเกิดของใคร? ๒๕๔๔
เฉลยธรรม นักธรรมชั
นโท
หมวด ๔- ๕
อบรมก่อนธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
****************************
๑. ๑.๑ กิจในอริยสัจ ๔ มี ๔อย่าง คือ ปริญญา กำหนดรู้สัจ ๑ ปหาน ละสมุยทัยสัจ ๑
สัจฉิกรณะ ทำนิโรธให้แจ้ง ๑ ภาวนา ทำมัคคสัจให้เกิด๑
๑.๒ มีอธิบายว่า นิรุตติ ได้แก่ ภาษาความเข้าใจรู้จักใช้ถ้อยคำให้คนเข้าใจตลอดถึงรู้
ภาษาต่างประเทศอาจชักนำให้คนนิยมตามคำพูดด กล่าวสั1นๆว่า เข้าใจพูดจัดเป็น
นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณได้แก่ ความมีไหวพริบเข้าใจและทำให้เหมาะสมในทันที
ในเม3ือมีเหตุเกิดขึ1นโดยฉุกเฉิน จัดเป็น ปฏิภาณปฏิสัมภิทา
๒. ๒.๑ คุณธรรมทั1ง ๔ อย่าง ท3ีแผ่โดยเจาะจงก็ดีโดยไม่เจาะจงตัวแต่ยังจำกัด มุ่งเอาหมู่นั1น
หมู่นี1ก็ดี จัดเป็นพรหมวิหาร คุณธรรมทั1ง ๔ อย่างท3ีแผ่โดยไม่เจาะจงตัว ไม่มีจำกัด
จัดเป็นอัปปมัญญา พรหมวิหารแปลว่า ธรรมเป็นเคร3ืองอยู่ของพรหม อัปปมัญญา
เป็นปฏิปทาของพระภิกษุในธรรมวินัยนี1
๒.๒ เมตตา หมายถึงความรักใคร่หรือปรารถนาดี
ปราณี หมายถึงความปรารถนาให้ผู้อื3นพ้นจาก ความทุกข์เข้าลักษณะแห่งกรุณา
เมตตา กำจัดโทสะและพยาบาล
ปราณี กำจัดวิหังสา
๓. ๓.๑ ชลาพุชะ เกิดในครรภ์ อัณฑชะ เกิดในไข่ สังเสทะชะ เกิดในเถ้าไคล
โอปปาติกะ เกิดผุดขึ1น สัตว์เดรัจฉาน จัดเป็นชลาพุชะ ก็ได้ เช่นวัว ควาย จัด
เป็นอัณฑชะก็ได้ เช่น เป็ด ไก่ จัดเป็นสังเสทชะก็ได้ เช่นหนอนบางจำพวก
๓.๒ ได้ชื3อว่าโอฆะ มี ๔ คือ กาโมฆะ โอฆะคือกาม๑ ภโวฆะ โอฆะคือภพ ๑
ทิฏโฐฆะ โอฆะคือ ทิฏฐิ๑ อวิชโชฆะ โอฆะคืออวิชชา ๑
๔. ๔.๑ คำว่า อาหาร ได้แก่ ปัจจัยที3นำผลมา มี ๔ อย่างคือ
๑.กวฬิงกาหาร อาหารคือคำข้าว
๒.ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ
๓.มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนา
๔.วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ
๔.๒ มโนสัญเจตนาหาร หมายเอาความจงใจ เป็นปัจจัยแห่งการทำ พูด คิด ซึ3งจัดว่า
เป็นกรรม
๕. ๕.๑ อธิบายว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมทรงทอดพระเนตรเห็นแจ่มใส เห็นได้ไกล เห็น
ได้ไว ด้วยมังสะจักษุ, ย่อมทรงเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้เป็นต่างๆกันด้วยอำนาจกรรม
ด้วยทิพย์จักษุ ย่อมทรงพิจารณาเห็นไญยธรรม มีอริยสัจเป็นอาทิ ด้วยปัญญาจักษุ
ย่อมพิจารณาเห็นอุปนิสัยของเวไนยสัตว์ ด้วยพุทธจักษุ ย่อมทรงทราบธรรมทั1ง
ปวง ด้วยสมันตจักษุ คือพระสัพพัญJุตาญาณ
๖. ๖.๑ มาร ๕ คือ ๑.ขันธมาร มารคือปัญจขันธ์ ๒.กิเลสมาร มารคือกิเลส
๓.อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร ๔.มัจจุมาร มารคือมรณะ
๕.เทวปุตตมาร มารคือเทวบุตร
๖.๒ ปัญจขันธ์ ได้ชื3อว่ามาร เพราะบางทีทำความลำบากให้ อันเป็นเหตุเบื3อหน่าย
จนถึงฆ่าตัวตายเสียเองก็มี
๗. ๗.๑ ปีติข้อที3 ๔ คือ อุพเพงคาปีติ ทำให้ใจฟูนำให้ทำการอื3นเว้นจากเจตนา เช่น เปล่ง
คำอุทานเป็นต้น บางทีทำให้กายลอยไปหรือโลดขึ1นก็มี เช่นปี ติท3ีเกิดขึ1นแก่พระ
วักกลิได้ฟังคำสั3งสอนของพระบรมศาสดา
๗.๒ ความสำรวมระวังมิให้บาปอกุศลเกิดขึ1นในสันดานพยายามละบาปอกุศลท3ีเกิดขึ1น
แล้วมิให้เสื3อมมี ๕ คือ
๑.สีลสังวร สำรวมด้วยศีล
๒.สติสังวร สำรวมด้วยสติ
๓.ญาณสังวร สำรวมด้วยญาณ
๔.ขันติสังวร สำรวมด้วยขันติ
๕.วิริยสังวร สำรวมด้วยความเพียร
๘. ๘.๑ หมายถึง เทศนาที3แสดงไปโดยลำดับเพื3อฟอกอัธยาศัยของเวไนยสัตว์ให้หมดจด
เป็นชั1นๆไปมี ๕ คือ
ทานกถา กล่าวถึงทาน
สีลกถา กล่าวถึงศีล
สัคคกถา กล่าวถึงสวรรค์
กามาทีนวกถา กล่าวถึงโทษแห่งกาม
เนกขัมมานิสังสกถา กล่าวถึงอานิสงส์แห่งการออกไปจากกาม
๘.๒ กิเลสมารสำคัญท3ีสุด เพราะตกอยู่ในอำนาจของมันแล้ว มันย่อมผูกรัดไว้บ้าง ย่อม
ทำให้เสียคนบ้าง เมื3อกิเลสมารไม่มีแล้วมารอื3นๆ ก็ไม่เป็นมารสำหรับผู้มีกิเลส
๙. ๙.๑ มัจฉริยะมี ๕ ประการคือ
๑.อาวาสมัจฉริยะ ตระหน3ีท3ีอยู่
๒.ลาภมัจฉริยะ ตระหนี3สกุล
๓.ลาภมัจฉริยะ ตระหนี3ลาภ
๔.วัณณมัจฉริย ตระหนี3วรรณะ
๕.ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี3ธรรมะ
๙.๒ ตระหนี3ธรรม หมายถึงการหวงธรรม หวงศิลปวิทยาไม่ปรารภนาจะแสดวหรือบอก
แก่ผู้อื3น เกรงว่าเขาจะรู้เทียมตน
๑๐. ๑๐.๑ กรรมฝ่ายอกุศลจัดเป็นอภิสังขารมาร ที3ได้ชื3อว่ามารเพราะทำให้เป็นผู้ทุรพล
๑๐.๒ สุทธาวาสมี ๕ ชั1นคือ
๑.อวิหา ๒.อตัปปา
๓.สุทัสสา ๔.สทัสสี
๕.อกนิฏฐะ เป็นที3เกิดของพระอนาคามี

ปัญหาธรรมวิภาค นักธรรมโท
หมวด ๖-๘
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
************************
๑. ๑.๑ อัญญสัตถุทเทสคืออะไร หมายถึงผู้ประพฤติเช่นไร? ๒๕๔๔
๑.๒ อัญญัตถุเทสต่างจากสังฆเภทอย่างไร ?๒๕๔๔
๒. ๒.๑ อะไรเรียกว่าอนุสัย เพราะเหตุไรจึงช,ือว่าเช่นนั-น ?๒๕๔๔
๒.๒ การจ้องตาต่อตากับหญิงสาวแล้วชื,นใจ จัดเป็นเมถุนสังโยคได้หรือไม่
เพราะเหตุไร ?๒๕๔๔
๓. ๓.๑ ทำไมท่านเปรียบวิสุทธิ ๗ เหมือนรถ ๗ ผลัด ?๒๕๔๓
๓.๒ อะไรจัดเป็นปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ?๒๕๔๓
๔. ๔.๑ เห็นอย่างไรจัดเป็นทิฏฐิวิบัติ ?๒๕๔๒
๔.๒ เห็นอย่างไรจัดเป็นทิฏฐิสุทธิ ?๒๕๔๒
๕. ๕.๑ ในวิชชา ๘ เจโตปริยญาณ มีอธิบายอย่างไร ?๒๕๔๒
๕.๒ สมาบัติ ๘ มีเท่าไร อะไรบ้าง ?๒๕๔๒
๖. ๖.๑ พรหมจรรย์ของสมณพราหมณ์ผู้ประพฤติเช่นไร เรียกว่าเมถุนสังโยค ?๒๕๔๑
๖.๒ เมถุนสังโยค ข้อที, ๒ มีใจความว่าอย่างไร?๒๕๔๑
๗. ๗.๑ จงอธิบาย กังขาวิตรณวิสุทธิมาดู ?๒๕๔๑
๗.๒ มโนมยิทธิ มีอธิบายอย่างไร ?๒๕๔๑
๘. ๘.๑ อวิชชา หมายความว่าอย่างไร? ๒๕๔๐
๘.๒ คนที,มีปกติหลงงมงายฟังใครพูดอะไรก็เชื,อง่ายไม่ใครครวญเหตุผล เชื,อแล้ว
ถอนยาก จัดว่ามีจะจริต พึงแก้อย่างไร ?๒๕๔๐
๙. ๙.๑ ธรรมที,มีชื,อว่า ปิยรูป สาตรูป เป็นอย่างไร?๒๕๓๙
๙.๒ สัญญา ๖ ได้แก่.......? ๒๕๓๙
๑๐. ๑๐.๑ อภิฐานมีเท่าไร อะไรบ้าง ?๒๕๓๘
๑๐.๒ ธรรมคุณบทว่า สวากขาโต ภควตา ธมฺโม แปลว่าอะไร
มีอธิบายอย่างไร ?๒๕๓๘
****************************
เฉลยธรรมวิภาค นักธรรมชั$นโท
หมวด ๖- ๘
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
************************
๑. ๑.๑ อัญญสัตถุเทส คือศาสนาอื,น หมายถึงภิกษูผู้ไปเข้ารีตเดียรถีย์ คือ หันเหไปนับ
ถือศาสนาอ,ืนทั-งท,ียังถือเพศบรรพชิตอยู่ ต้องห้ามมิให้อุปสมบทอีกฯ
๑.๒ ต่างกันคืออัญญสัตถุเทสนั-น ละทิ-งศาสนาเดิมของตน เปล,ียนไปนับถือศาสนาอ,ืน
แต่ไม่ทำลายพวกเดิมของตน ส่วนสังฆเภทนั-น ยังอยู่ในศาสนาเดิมของตนแต่
ทำลายพวกตนเองให้แตกแยกเป็นพรรคเป็นพวก
๒. ๒.๑ กิเลสท,ีนอนเน,ืองอยู่ในสันดาน เรียกว่าอนุสัย เพราะกิเลสทั-ง ๗ อย่าง ล้วนเป็น
กิเลสอย่างละเอียดนอนเน,ืองอยู่ในสันดาน บางทีไม่แสดงอาการท,ีแท้จรงออกมา
ให้เห็น ต่อเม,ือมีอารมณ์ภายนอกอย่างใดอย่างหนึ,งมายัว, ยวนก็แสดงออกมาให้
ปรากฏและทำจิตให้ขุ่นมัวเม,ือไม่มีอารมณ์มายัว, ยวน ก็นอนสงบนิ,งประหนึ,งว่า
เป็นผู้ไม่มีกิเลสจึงได้ชื,อว่าอนุสัย
๒.๒ การจ้องตาต่อตากับหญิงสาวจัดเป็นเมถุนสังโยคได้ เพราะอาการเช่นนั-นอิงอาศัยกาม
๓. ๓.๑ เพราะวิสุทธิ ๗ นี- เป็นปัจจัยส่งต่อกันขึ-นไปเพ,ือบรรลุพระนิพพาน ท่านจึงเปรียบ
เหมือนรถ ๗ ผลัด ต่างส่งต่อซึ,งคนผู้ไปให้ถึงสถานท,ีปรารถนา
๓.๒ วิปัสสนาญาณ ๙ จัดเป็นปฏิทาญาณทัสสนวิสุทธิ
๔. ๔.๑ ความเห็นคลาดเคลื,อน ประพฤติตามความเห็นของตน ผิดธรรมผิดวินัย จัดเป็น
ทิฏฐิวิบัติ
๔.๒ เห็นนามรูปตามสภาวะที,เป็นจริงอย่างไร รู้จักแยกออกเป็นส่วนๆ โดยปัจจัตต
ลักษณะและยกขึ-นสู่ไตรลักษณ์ คือ อนิจจตา ทุกขตา อนัตตตา โดยสามัญญลักษณ์
เป็นเหตุข่มความเข้าใจผิดว่าเป็นสัตว์บุคคลเสียได้เริ,มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด
จัดเป็นทิฏฐิวิสุทธิ
๕. ๕.๑ เจโตปริยญาณ มีอธิบายว่า กำหนดด้วยใจของตนแล้วรู้ได้ซึ,งใจของบุคคลอ,ืนอัน
บริสุทธิJหรือเศร้าหมองอย่างไร
๕.๒ สมาบัติมี ๘ คือ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔
๖. ๖.๑ พรหมจรรย์ของผู้ประพฤติเกี,ยวเนื,องกับเมถุนคือไม่เสพเมถุน แต่ยังไม่มีอาการพัวพัน
เมถุนซึ,งเรียกว่าเมถุนสังโยค
๖.๒ เมถุนสังโยคข้อท,ี ๒ มีใจความว่า ชอบซิกซี-เล่นหัวสัพยอกกับมาตุคามแล้วปลื-มใจ
ด้วยการกระทำนั-น
๗. ๗.๑ กังขาวิตรณวิสุทธิ อธิบายว่า การกำหนดจับปัจจัยแห่งนามรูปว่า เพราะอะไรเกิดขึ-น
นามรูปจึงเกิดขึ-น เพราะอะไรดับนามรูปจึงดับจนเป็นเหตุสิ-นความสงสัยในนามรูปทั-ง
ท,ีเป็นมาแล้วในอดีต ทั-งท,ีกำลังเป็นอยู่ในปัจจุบัน ทั-งจักเป็นในอนาคต
๗.๒ มโนมยิทธิมี มีอธิบายว่าสามรถนิรมิตกายอ,ืนจากกายนี-ได้ เพียงนึกเท่านั-น ดุจชัดกาบ
ออกจากฝัก ไม่ว่าคิดทำสิ,งหนึ,งสิ,งใด ก็สำเร็จได้ตามความคิดทุกประการ
๘. ๘.๑ อวิชชา หมายความว่า การไม่รู้แจ้งอริยสัจ ๔ ไม่รู้จักอดีต มีรู้จักอนาคต ไม่
รู้จักปฏิจจสมุปบาท
๘.๒ คนที,ปกติหลงงมงายเชื,อง่าย จัดเป็นคนมีโมหจริต และพึงแก้ด้วยการเรียนการถาม
การฟังและการสนทนาธรรมตามกาล
๙. ๙.๑ ธรรมที,มีอายตนภายในอายตนภายนอก เป็นต้นต่อเนื,องกันไปจนถึงวิตกวิจารเป็น
ที,สุดได้ชื,อว่า ปิยรูป สาตรูป เพราะเป็นสภาวะที,รักที,ชื,นใจด้วยเพ่งอิฏฐารมณ์เป็น
ท,ีตั-ง เป็นบ่อเกิดแห่งตัณหา ตัณหาเม,ือเกิดย่อมเกิดในธรรมเหล่านี- เม,ือดับย่อมดับใน
ธรรมเหล่านี-
๙.๒ สัญญา ๖ ได้แก่ รูปสัญญา สัททสัญญา คันธสัญญา รสสัญญา โผฏฐัพพสัญญา
ธัมมสัญญา
๑๐. ๑๐.๑ อภิฐานมี ๖ คือ
๑.มาตุฆาต ฆ่ามารดา
๒.ปิตุฆาต ฆ่าบิดา
๓.อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์
๔.โลหิตุปบาท ทำร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อ
๕.สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกกัน
๖.อัญญสัตถุทเทส ถือศาสดาอื,น
๑๐.๒ แปลว่าพระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว มีอธิบายว่า เราตรัสไม่วิปริต คือ
ตรัสได้จริง เพราะแสดงข้อปฏิบัติโดยลำดับกัน ไพเราะในเบื-องต้น ท่ามกลางท,ีสุดมี
ทั-งอรรถะ ทั-งพยัญชนะ บริสุทธิJบริบรูณ์สิ-นเชิง


ปัญหาธรรมวิภาค นักธรรมชั นโท
หมวด ๙ - ๑๕
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
************************
๑. ๑.๑. พระพุทธคุณบทว่า อรหํ แปลว่าอะไร ? ๒๕๔๔
๑.๒. พระสงฆ์ดีอย่างไร จึงจัดว่าเป็นนาบุญของโลก ? ๒๕๔๔
๒. ๒.๑. มานะ ๙ ประการ กำหนดด้วยอะไรได้บ้าง ? ๒๕๔๒
๒.๒. มานะ ๙ ประการนั/น มีลักษณะก1ีอย่าง ? ๒๕๔๒
๓. ๓.๑. บารมีคืออะไร มีกี1อย่าง อะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๓.๒.สังโยชน์อะไรเรียกว่า โอรัมภาคิยสังโยชน์ มีอะไรบ้าง ? ๒๕๔๓
๔. ๔.๑. สละอะไร อย่างไร จัดเป็นทางอุปบารมี ? ๒๕๓๙
๔.๒. สละอะไร อย่างไร จัดเป็นทานปรมัตถบารมี ? ๒๕๓๙
๕. ๕.๑. อุปาทานเกิดขึ/นเพราะอะไร ? ๒๕๓๗
๕.๒. ถือมั1นชนิดใดจัดเป็นอุปาทาน ? ๒๕๓๗
๖. ๖.๑. กรรมหมายถึงการกระทำเช่นไร ? ๒๕๔๔
๖.๒. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม และอุปปัชชนียกรรม คือกรรมเช่นไร ? ๒๕๔๔
๗. ๗.๑. กรรม ๑๒ จัดเป็นกี1หมวด และแต่ละหมวดให้ผลต่างกันอย่างไร ? ๒๕๔๑
๗.๒. อโหสิกรรม หมายความว่าอย่างไร ? ๒๕๔๑
๘. ๘.๑. อย่างไรเรียกว่า ธุดงค์ ? ๒๕๔๐
๘.๒. ธุดงค์ข้อที1 ๑ มีคำสมาทานว่าอย่างไร ? ๒๕๔๐
๙. ๙.๑. ธุดงค์มีกี1หมวด บอกมาให้ครบ ? ๒๕๓๙
๙.๑. เนสัชชิกังคะ หมายถึงองค์แห่งภิกษุผู้ประพฤติเช่นไร ? ๒๕๔๒
๑๐. ๑๐.๑. พาหุสัจจะ มีองค์เท่าไร ตอบมาให้ครบ ? ๒๕๓๘
๑๐.๒. โภชเนมัตตัญCุตา ในจรณะ ๑๕ มีอธิบายอย่างไร ? ๒๕๔๑
เฉลยธรรมวิภาค นักธรรมชั นโท
หมวด ๙ - ๑๕
อบรมก่อนสอบธรรมสนามหลวง ณ วัดพระธรรมกาย
************************
๑. ๑.๑. แปลว่า เป็นผู้เว้นไกลจากกิเลส และบาปธรรม
เป็นผู้หักกำแห่งสังสารจักร
เป็นผู้ควรแนะนำสั1งสอนเขา
เป็นผู้ควรรับความเคารพนับถือของเขา
เป็นผู้ไม่มีข้อลับ ไม่ได้ทำความเสียหายอันจะพึงซ่อนเพื1อมีให้คนอื1นรู้
๑.๒. พระสงฆ์เป็นผู้บริสุทธิE ทักขิณาท1ีบริจาคแก่ท่าน ย่อมมีผลานิสงส์ดุจนาท1ีมีดินดี และไถดีพืชท1ี
หว่านที1ปลูกลงย่อมเผล็ดผลไพบูลย์ จึงชื1อว่านาบุญของโลก
๒. ๒.๑. มานะ ๙ กำหนดด้วยชาติ โคตร ตระกูล รูป สมบัติ ทรัพย์ ศิลปวิทยา การงาน และความเฉลียว
ลาดเป็นต้น
๒.๒. มีลักษณะ ๓ อย่างคือ ๑.เป็นผู้เลิศกว่าเขา ๒. เป็นผู้เสมอเขา ๓. เป็นผู้เลวกว่าเขา
๓. ๓.๑. บารมี คือ คุณสมบัติหรือปฏิปทาอันยอดเยี1ยม มี ๑๐ อย่างคือ
ทาน ๑ ศีล ๑ เนกขัมมะ ๑ ปัญญา ๑ วิริยะ ๑ ขันติ ๑ สัจจะ ๑ อธิษฐาน ๑ เมตตา ๑ อุเบกขา ๑
๓.๒. สังโยชน์เบื/องตํ1าคืออย่างหยาบ เรียกว่า โอรัมภาคิยสังโยชน์ มี ๕ อย่าง คือ สักกายทิฏฐิ ๑
วิจิกิจฉา ๑ สีลัพพตปรามาส ๑ กามราคะ ๑ ปฏิฆะ ๑
๔. ๔.๑. สละอวัยวะแห่งร่างกาย พยายามเพ1ือจะทำประโยชน์หรือเปลื/องทุกข์แก่ผู้อ1ืน แต่ต้องเสียสละ
อวัยวะของตนในการทำอย่างนั/น จัดเป็นขั/น ทานอุปบารมี
๔.๒. สละชีวิตเพ1ือประโยชน์แก่คนมากหรือเพ1ือเปลื/องทุกข์แก่ผู้อ1ืน จัดเป็นขั/นทานปรมัตถบารมี
๕. ๕.๑. อุปาทานเกิดขึ/นเพราะมีตัณหา ตามบาลีว่า ตณฺหาปจฺจยา อุปาทานํ อุปาทานมีเพราะมีตัณหาเป็น
เหตุ
๕.๒. ถือมัน1 ข้างเลว ได้แก่ถือรั/น จัดเป็นอุปาทาน
๖. ๖.๑. กรรม หมายถึงการกระทำทางกาย วาจา และใจ ท1ีมีเจตนาจงใจทำ เป็นได้ทั/งฝ่ ายดี ฝ่ ายชัว1 หรือเป็น
กลาง ๆ
๖.๒. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม คือกรรมให้ผลในภพปัจจุบัน
อุปปัชชเวทนียะกรรม คือ กรรมให้ผลในภพที1จะเกิดถัดไป
๗. ๗.๑. กรรม ๑๒ จัดเป็น ๓ หมวด แต่ละหมวดให้ผลต่างกันอย่างนี/ คือ
หมวดที1 ๑ ให้ผลตามกาลเวลา
หมวดที1 ๒ ให้ผลตามหน้าที1
หมวดที1 ๓ ให้ผลตามลำดัยความแรงในการให้ผล
๗.๒. อโหสิกรรม หมายความว่า กรรมที1เลิกให้ผล ไม่มีผลที1จะเสวยอีกต่อไป
๘. ๘.๑. วัตตจริยาพิเศษ บัญญัติขึ/นด้วยหมายจะให้เป็นอุบายขจัดกิเลส
๘.๒. คำสมาทาน ธุดงค์ข้อที1 ๑ คหปติจีวรํ ปฏิกฺขิปามิ ปสุกุลิกงฺคํ สมาทิยามิ
๙. ๙.๑. ธุดงค์มี ๔ หมวด
หมวดที1 ๑ ปฏิสังยุตด้วยจีวร
หมวดที1 ๒ ปฏิสังยุตด้วยปิณฑบาต
หมวดที1 ๓ ปฏิสังยุตด้วยเสนาสนะ
หมวดที1 ๔ ปฏิสังยุตด้วยความเพียร
๙.๒. เนสัชชิกังคะ หมายถึง องค์แห่งภิกษุผู้ถึงการอยู่ด้วยอริยาบถ ๓ คือ การยืน การเดิน การนัง1 เว้น
การนอน แม้แต่เอนกายก็ไม่ทำ
๑๐. ๑๐.๑. พาหุสัจจะมีองค์ ๕ คือ
๑. พหุสฺสุตา ได้ยินได้ฟังมาก
๒. ธตา ทรงจำได้
๓.วจสา ปริจิตา ท่องไว้ด้วยวาจา
๔.มนสานุเปกฺขิตา เอาใจจดจ่อ
๕.ทิฏฐิยา สุปฏิวทฺธา ขบด้วยทิฏฐิ
๑๐.๒. โภชเนมัตตัญCุตา มีอธิบายว่า ความเป็นผู้รู้จักประมาณในการบริโภคอาหารแต่พอควรไม่มาก
ไม่น้อยพิจารณาแล้วจึงบริโภคอาหาร และเพ่งประโยชน์อันจักเกิดแต่อาหารนั/น ไม่บริโภคสะเพร่า และอำนาจมัก
บริโภค เป็นต้น


















2 ความคิดเห็น: